Page 14 - chaichan032
P. 14

กลุ่มนี้ในเดือนมกราคม 2015 อัตราเงินเฟ้อ ร้อยละ 0.60 หรือดัชนีเพิ่มขึ้นจาก 126.76 ใน

         เดือนธันวาคม 2014 เป็น 127.52 ในเดือนมกราคม 2015 11 กลุ่มย่อยในกลุ่มนี้มี 10 กลุ่ม

         ย่อยประสบเงินเฟ้อ และ 1 กลุ่มย่อยที่ประสบเงินฝืด กลุ่มย่อยที่อัตราเงินเฟ้อ สูงสุด คือ กลุ่ม

         เนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้อง ร้อยละ 3.91 และกลุ่มย่อยที่อัตราเงินเฟ้อต ่าที่สุด คือ ไขมัน

         และน ้ามัน ร้อยละ 0.11 ขณะที่กลุ่มที่ประสบเงินฝืด ได้แก่ เครื่องเทศ ร้อยละ 10.33 กลุ่มนี้ ใน

         เดือนมกราคม 2015 มีผลท าให้เกิดอัตราเงินเฟ้อ ร้อยละ 0.12 สินค้าที่มีผลต่อเงินเฟ้อ ได้แก่
         เนื้อไก่สด ร้อยละ 0.09, ปลาสด ร้อยละ 0.08, ข้าวและไข่ไก่ ร้อยละ 0.07, แครอทและ

         หอมแดง ร้อยละ 0.02, ปลาแปรรูป, ผักโม,ผักสด, มะเขือเทศ และแคนตาลูป ร้อยละ 0.01

         สินค้าที่มีผลต่อเงินฝืด ได้แก่ พริกแดง ร้อยละ 0.22, พริกป่น ร้อยละ 0.06, ถั่วฝักยาว และ

         แตงกวา ร้อยละ 0.01 ในเดือนมกราคม 2015 อัตราเงินฝืดที่ร้อยละ 0.24 กับดัชนีราคา

         ผู้บริโภค (CPI) ที่ 118.71 จาก 82 เมืองของดัชนี ราคาผู้บริโภค 51 เมืองประสบเงินฝืด และ

         31 เมืองประสบเงินเฟ้อ เงินฝืดสูงสุดที่ Padang  ร้อยละ 1.98 และดัชนีราคา ผู้บริโภคที่

         123.54 และต ่าสุดที่ Bandung  และ Madiun ร้อยละ 0.05 และดัชนีราคาผู้บริโภคอยู่ที่

         117.05 และ 116.77 ตามล าดับ ขณะที่อัตราเงินเฟ้อสูงสุดที่ Ambon  ร้อยละ 2.37 กับดัชนี

         ราคาผู้บริโภคที่ 117.77 และต ่าสุดที่ Malang ร้อยละ 0.04 กับดัชนีราคาผู้บริโภคที่ 119.21







                              ที่มา : หนังสือพิมพ์ Business News ลงวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2558

                              ส านักงานส่งเสริมการค้าฯ ณ กรุงจาการ์ตา

                              แปลโดย : ศรวลัญช์ ธารแสงประดิษฐ์ มีนาคม 2558

                              ตรวจทานโดย : วิลาสินีโนนศรีชัย ผอ.สคร.จาการ์ตา


                                               สารบาญ
   9   10   11   12   13   14   15   16