Page 5 - Digital Economy Plan-fullversion
P. 5
บทสรุปผู้บริหาร
ปัจจุบันโลกเริ่มเข้าสู่ยุคระบบเศรษฐกิจและ • การบริหารจัดการการเข้าสู่สังคมสูงวัยที่
สังคมดิจิทัลที่เทคโนโลยีดิจิทัลจะไม่ได้เป็นเพียง ประเทศไทยต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง
เครื่องมือสนับสนุนการท างานเฉกเช่นที่ผ่านมาอีก ประชากรที่มีนัยต่อผลิตภาพของประเทศ รวมถึงความ
ต่อไป หากแต่จะหลอมรวมเข้ากับชีวิตคนอย่างแท้จริง ต้องการใช้เทคโนโลยีในการดูแลผู้สูงอายุ
และจะเปลี่ยนโครงสร้างรูปแบบกิจกรรมทางเศรษฐกิจ • การแก้ปัญหาคอร์รัปชั่น อันเป็นปัญหาเรื้อรัง
กระบวนการผลิต การค้า การบริการ และกระบวนการ ของประเทศ โดยสร้างความโปร่งใสให้กับภาครัฐ
ทางสังคมอื่นๆ รวมถึงการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ด้วยการเปิดเผยข้อมูล เพื่อให้ประชาชนสามารถ
ไปอย่างสิ้นเชิง ประเทศไทยจึงต้องเร่งน าเทคโนโลยี มีส่วนร่วมในการตรวจสอบการท างานของภาครัฐได้
ดิจิทัลมาใช้เป็นเครื่องมือส าคัญในการขับเคลื่อนการ
พัฒนาประเทศ โดยในบริบทของประเทศไทย • การพัฒนาศักยภาพของคนในประเทศทั้ง
เทคโนโลยีดิจิทัลสามารถตอบปัญหาความท้าทายที่ บุคลากรด้านเทคโนโลยี บุคลากรที่ท างานในภาค
ประเทศก าลังเผชิญอยู่หรือเพิ่มโอกาสในการพัฒนา เกษตร อุตสาหกรรม และบริการ รวมถึงคนทั่วไปที่
ทางเศรษฐกิจและสังคม เช่น จะต้องชาญฉลาด รู้เท่าทันสื่อ เท่าทันโลก
• การก้าวข้ามกับดักรายได้ปานกลางที่เป็น ด้วยตระหนักถึงความท้าทายและโอกาส
หนึ่งในเป้าหมายการพัฒนาประเทศเร่งด่วนของ ดังกล่าว รัฐบาลไทย โดยกระทรวงเทคโนโลยี
รัฐบาล ด้วยการลงทุนและพัฒนาอุตสาหกรรมที่มี สารสนเทศและการสื่อสาร จึงได้จัดท าแผนพัฒนา
27-09-1711:09:51
27-09-1711:09:51
อยู่แล้วในประเทศและอุตสาหกรรมกระแสใหม่ที่ ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมฉบับนี้ขึ้น เพื่อใช้เป็น
รวมถึงอุตสาหกรรมดิจิทัล กรอบในการผลักดันให้เทคโนโลยีดิจิทัลเป็นกลไก
• การพัฒนาขีดความสามารถของธุรกิจใน ส าคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
ประเทศทั้งภาคการเกษตร การผลิต และการบริการ ซึ่งรวมถึงการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ทางความคิดใน
โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่ม SMEs และวิสาหกิจชุมชน ทุกภาคส่วน การปฏิรูปกระบวนการทางธุรกิจ
ให้แข่งขันในโลกสมัยใหม่ได้ การผลิต การค้า และการบริการ การปรับปรุง
ประสิทธิภาพการบริหารราชการแผ่นดิน และการ
• การปรับตัวและฉกฉวยโอกาสจากการ ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน อันจะน าไปสู่
รวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเป็น ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืนของประเทศไทยตาม
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี พ.ศ. 2558 ที่มี นโยบายของรัฐบาลในท้ายที่สุด
นัยส าคัญต่อการเคลื่อนย้ายสินค้าและก าลังคนจาก
ไทยไปสู่โลก
• การแก้ปัญหาความเหลื่อมล้ าของสังคม
โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านรายได้ การศึกษา การ
รักษาพยาบาล สิทธิประโยชน์การเข้าถึงข้อมูล ฯลฯ
ให้เกิดการกระจายทรัพยากรและโอกาสที่ทั่วถึง
เท่าเทียม และเป็นธรรมยิ่งขึ้น