Page 18 - แอนนวลรีพอร์ต(for_print)11.04.2016
P. 18

เห็นเงียบ ๆ แต่อันตรายเพียบเลยนะ                        ปลอดโรค ปลอดภัย มั่นใจ RRTTR



       หลายคนคงรู้สึกว่าตนเองอยู่ห่างไกลและปลอดภัยจากโรคมาลาเรีย   หนึ่งในโรคติดต่อร้ายแรงอันดับต้น ๆ ของเมืองไทย คนหนีไม่พ้น

       แต่ทราบหรือไม่ว่า...                                    เอดส์และวัณโรค ซึ่งมีอัตราผู้ติดเชื้อรายใหม่เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ แม้
                                                               ทุกภาคส่วนต่างพยายามให้ข้อมูลและความรู้ต่อสาธารณะกันอย่าง
       นอกจากโรคเอดส์แล้ว มาลาเรียยังคงเป็นภัยร้ายที่ส�าคัญของโลก   เต็มก�าลังแล้วก็ตาม

       ในแต่ละปีมีประชากรโลกที่เจ็บป่วยและเสียชีวิตจากโรคนี้เป็นจ�านวน
       มาก ยิ่งไปกว่านั้นยังพบว่า ฟัลซิปารัม ซึ่งเป็นเชื้อมาลาเรียสายพันธุ์  ด้วยการสนับสนุนของกองทุนโลกด้านเอดส์ วัณโรคและมาลาเรีย
       หนึ่ง มีอาการดื้อต่อยา อาร์ติมิซินิน ที่มีประสิทธิภาพในการรักษา  รักษ์ไทยพร้อมทั้งองค์กรภาคีอื่น ๆ ได้คิดค้นแนวทางที่เรียกว่า

       สูงสุด จึงท�าให้การควบคุมโรคมาลาเรียมีความยากล�าบากมากขึ้น
                                                               RRTTR หรือ การเข้าถึง (Reach) เข้าสู่บริการ (Recruit) ตรวจหา
                                                               (Test) รักษา (Treat) และคงอยู่ในระบบ (Retain) ขึ้น เพื่อให้
       เพื่อรับมือกับสถานการณ์ดังกล่าว กรมควบคุมโรคของประเทศไทย   สอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมายตามความแตกต่าง
       ได้ประสานความร่วมมือกับโครงการควบคุมมาลาเรีย แห่งกัมพูชา   ของพื้นที่อยู่อาศัย เพศ วัยและอาชีพที่มีความเสี่ยง อย่างพนักงาน
       ในการด�าเนินโครงการยุทธศาสตร์เพื่อยับยั้งเชื้อมาลาเรียดื้อยาใน  บริการ แรงงานข้ามชาติ เป็นต้น

       ภูมิภาคอาเซียน ด้วยงบประมาณจากกองทุนโลก ซึ่งมีวัตถุประสงค์
       ให้เป็นโครงการน�าร่อง เพื่อจ�ากัดขอบเขตการแพร่เชื้อมาลาเรีย  กลุ่มเป้าหมายที่เข้าสู่แนวทาง RRTTR จะได้รับการตรวจรักษาโรค

       ดื้อยาในพื้นที่ 7 จังหวัดชายแดนไทย - กัมพูชา            อย่างเป็นระบบ ตามแผนปฏิบัติการเพื่อยุติปัญหาเอดส์และวัณโรค


       นอกจากหน่วยงานรัฐในทั้งสองประเทศแล้ว รักษ์ไทย ในฐานะผู้รับ  RRTTR ช่วยให้ค้นหาผู้ติดเชื้อรายใหม่ได้อย่างรวดเร็ว เพื่อเข้ารับการ

       ทุนรองจากส�านักงานบริหารโครงการกองทุนโลก  ระยะที่สอง         รักษาที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ซึ่ง รักษ์ไทย เชื่อว่าในที่สุด
       และองค์กรพัฒนาเอกชนอื่นๆ ได้ประสานความร่วมมือในการจัด   RRTTR จะช่วยลดอัตราผู้ติดเชื้อรายใหม่ลงได้ตามเป้าหมายของ

       โครงการเพื่อให้บริการป้องกัน  ดูแล  รักษา  และให้ความรู้ต่อ  องค์การอนามัยโลก
       สาธารณะในการป้องกันตนเองและหยุดพฤติกรรมเสี่ยงต่อการรับ
       เชื้อมาลาเรียสายพันธุ์ดื้อยา โดยก�าหนดให้ประชากรข้ามชาติ และ      นอกจากการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ เพื่อผู้ป่วยโรคเอดส์และวัณโรค

                           4
       ย้ายถิ่นในพื้นที่ 9 จังหวัด  ของประเทศไทยเป็นกลุ่มเป้าหมายหลัก   แล้ว รักษ์ไทย ยังตระหนักถึงการให้ความรู้และข้อมูลต่อสาธารณะ
       พร้อมทั้งจัดการให้ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้เข้าถึงระบบชุมชน        รวมทั้งกลุ่มเป้าหมาย เพื่อให้ทราบถึงการรักษาโรคและลดพฤติกรรม

       และระบบประกันสุขภาพที่มีอยู่                            เสี่ยงต่อการติดเชื้อ ตลอดจนสร้างความเข้าใจเพื่อลดอคติที่มีต่อ

                                                               กลุ่มผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยด้วย











       จ�านวนแรงงานข้ามชาติที่เข้าถึง        กลุ่มเป้าหมายที่เข้าถึงการอบรม         กลุ่มวัยรุ่นที่เข้าถึงโครงการแล้ว
       โครงการการป้องกันการติดเชื้อ          ความรู้ด้านมาลาเรียแล้วกว่า            กว่า 560 คน (คิดเป็นชาย 40%
       เอชไอวีด้วยชุดกิจกรรมป้องกันใน        13,835 คน ใน 200 หมู่บ้าน              หญิง 60%)
       ปีแรกกว่า 14,885 คน


      4   ราชบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ตราด ชลบุรี ระยอง ศรีษะเกษ อุบลราชธานี สงขลา และสุราษฎร์ธานี

           17     รายงานประจ�าปี 2558
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23