Page 217 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 217
เมรุ ในศิลปะอินเดีย
รองศาสตราจารย์ ดร.เชษฐ์ ติงสัญชลี
ภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร
เมรุในวัฒนธรรมอินเดีย ไม่ใช่ “อาคารเผาศพ”
“เมร”ุ ในวฒั นธรรมอนิ เดยี มคี วํามเกย่ี วขอ้ งกบั “ภเู ขํา” “สวรรค”์ อนั ทปี่ ระทบั ของเทพเจํา้ และ “เทวําลยั ” แตก่ ลบั ไมไ่ ดม้ คี วํามเกยี่ วขอ้ งกบั อําคํารเผําศพ (crematorium) หรอื ทใ่ี นวฒั นธรรม ไทยปัจจุบันเรียกว่ํา “เมรุเผําศพ” เลย เนื่องจํากกํารเผําศพในวัฒนธรรมอินเดีย ย่อมเป็นกํารเผํา ศพกลํางแจ้ง ไม่มีกํารสร้ํางหลังคําคลุมแต่อย่ํางใด (ภําพที่ ๑-๒)
แมว้ ํา่ ปจั จบุ นั อําจมกี ํารสรํา้ งทเี่ ผําศพแบบทมี่ หี ลงั คําคลมุ บํา้ งในประเทศอนิ เดยี แตอ่ ําคําร คลุมเหล่ํานั้นก็ไม่ได้เรียกว่ํา “เมรุ” แต่อย่ํางใด หํากสร้ํางข้ึนเพ่ือป้องกันฝนในขณะท่ีเผําศพในฤดู ฝนเท่ํานั้น
ในวัฒนธรรมอินเดีย ศพจะถูกเผําบนกองฟอน ณ ท่ําน้ําอันมีควํามศักด์ิสิทธิ์ที่เรียกว่ํา “ฆําฏ” ซ่ึงต้ังอยู่ใกล้กับสถํานท่ีศักด์ิสิทธ์ิบ้ําง หรือแม่น้ําศักดิ์สิทธ์ิบ้ําง เพรําะเช่ือว่ําจะนําวิญญําณ ผตู้ ํายใหไ้ ปสสู่ รวงสวรรคไ์ ด้ รํา่ งผตู้ ํายจะถกู หอ่ ผํา้ อยํา่ งงํา่ ยๆ และอําจถกู ปกคลมุ ไปดว้ ยดอกไม้ ไมม่ ี กํารตกแตง่ ใดๆ เปน็ พเิ ศษ และไมม่ โี ลงศพหรอื สง่ิ ใดๆ บรรจศุ พดว้ ย ควํามตํายในวฒั นธรรมอนิ เดยี จงึ เปน็ กํารกลบั ไปสคู่ วํามเรยี บงํา่ ยและควํามเปน็ ธรรมชําตอิ ยํา่ งแทจ้ รงิ ไมว่ ํา่ ผตู้ ํายนนั้ จะมฐี ํานะสงู สง่ มํากเพียงใดก็ตําม (ภําพที่ ๒)
กํารประดษิ ฐค์ ตคิ วํามเชอื่ ตํา่ งๆ และกํารสรํา้ งประตมิ ํากรรม-สถําปตั ยกรรมทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั ควํามตํายอย่ํางอลังกําร จึงเป็นกระบวนกํารกํารนําเอํา “คติอินเดีย” มําปรับปรุงใหม่เพื่อรองรับกับ วัฒนธรรมในเอเชียอําคเนย์เอง
๑๐
ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ ๒๑5
เสด็จสู่แดนสรวง