Page 219 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 219
คาจากัดความของคาว่าเมรุ
และเมรุในฐานะ “สวรรค์” ในวัฒนธรรมอินเดีย
“เมรุ” แปลว่ํา ภูเขํา ซึ่งมีควํามหมํายเจําะจงหมํายถึงเขําศูนย์กลํางจักรวําลในประติมําน วิทยําอินเดีย คําไวพจน์ของคําว่ําเมรุยังปรํากฏอีก เช่น สิเนรุ ศิขระ ไกลําส (Kailash)
ในสมยั โบรําณ ในเมอื่ ภเู ขําหมิ ําลยั เปน็ ภเู ขําทสี่ งู เสยี ดฟํา้ และปกคลมุ ดว้ ยหมิ ะอยํา่ งหนําวเหนบ็ จนไมอ่ ําจเขํา้ ถงึ ไดโ้ ดยมนษุ ย์ ดว้ ยเหตนุ ี้ จนิ ตนํากํารของมนษุ ยจ์ งึ สมมตใิ หภ้ เู ขําเปน็ ทต่ี งั้ ของสวรรค์ ไปโดยปริยําย ส่วนป่ําเชิงเขําหิมําลัยก็ถูกสมมติให้เป็นป่ําหิมพํานต์ อันเป็นหัวเลี้ยวหัวต่อระหว่ําง โ ล ก ส ว ร ร ค ก์ บั โ ล ก ม น ษุ ย ์ ส ว่ น ภ เู ข ํา เ ต ยี ้ ๆ เ ช งิ เ ข ํา ห มิ ํา ล ยั น นั ้ ก ถ็ กู จ นิ ต น ํา ก ํา ร ว ํา่ ห ม ํา ย ถ งึ เ ข ํา ส ตั ต บ ร ภิ ณั ฑ ์ อันเป็นบริวํารของเขําพระสุเมรุ (ภําพที่ ๓)
อนึ่ง ภูเขําหิมะโดยปกติแล้วมีสีขําวประหนึ่งเงินยวง แต่เม่ือแสงอําทิตย์ตกต้องภูเขํา ในยํามเช้ําหรือยํามเย็นก็สํามํารถเปล่ียนเป็นสีทองได้ ด้วยเหตุนี้ คําว่ํา “เหม” ซึ่งผันมําจํากคําว่ํา “หิมะ” จึงแปลว่ํา “สีทอง” ได้ ควํามเชื่อมโยงดังกล่ําวน้ีเองท่ีทําให้พระเมรุมําศ ซึ่งมีสีทอง (มําศ) อําจมีสมกํารทํางประติมํานวิทยําเทียบเท่ํากับ “ภูเขําหิมะสีทอง” ได้
ในศําสนําฮินดู พระศิวะได้ถูกสถําปนําให้เป็นพระผู้ประทับบนเขําไกลําสและแต่งงําน กับลูกสําวของภูเขําหิมําลัย คือนํางปํารวตีอันเป็นลูกสําวของท้ําวหิมวันต์ ส่วนในคัมภีร์โลกศาสตร์ ในพุทธศําสนําเถรวําทระยะหลัง สวรรค์ของพระอินทร์คือสวรรค์ชั้นดําวดึงส์ก็ถูกสมมติให้ตั้งอยู่บน เขําพระสุเมรุที่ก่ึงกลํางของจักรวําล
ดังนั้น ในเม่ือ “เมรุ” แปลว่ําภูเขํา ด้วยเหตุนี้ “เมรุ” จึงหมํายถึงสวรรค์ด้วย
ภําพที่ ๓ เขําไกลําสแห่งหุบเขํากินนร (Kinnaur Kailash) ตัวอย่ํางของภูเขําหิมําลัยในถูกสถําปนําให้อยู่ในฐํานะที่ประทับของพระเป็นเจ้ํา
๑๐
ศิลปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ ๒๑๗
เสด็จสู่แดนสรวง