Page 221 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 221

รูปที่ ๔ เทวําลัยทรงศิขระซึ่งประกบด้วยศิขระขนําดเล็กจํานวนมํากจนดูเหมือนภูเขําท่ีสลับซับซ้อน เทวําลัยจึงมีสมกํารทํางประติมํานวิทยําเท่ํากับภูเขํา หรือ “เมรุ”
สรุปก็คือ ในศิลปะอินเดียก่อนพุทธศตวรรษที่ ๑๙ “เมรุ” เป็นคําไวพจน์หนึ่งของคําว่ํา เทวําลัย ท่ีประทับของเทพเจ้ําอันมียอดสูงประหนึ่งภูเขําศูนย์กลํางจักรวําลซ่ึงก็คือสวรรค์นั่นเอง ดังที่ได้กล่ําวแล้วว่ํา ภูเขําหิมําลัย คือ สรวงสวรรค์ท่ี “ไม่อําจเข้ําถึงได้” โดยมรรตัยชน คือมนุษย์ ทวั่ ไปทรี่ จู้ กั ควํามตําย ดว้ ยเหตนุ ี้ กํารสรํา้ งเทวําลยั ทจี่ ํา ลอง “ภเู ขํา” (เมร)ุ มําบนดนิ จงึ เปน็ กํารทํา ให้ มรรตัยชนสํามํารถเข้ําถึง “สวรรค์บนภูเขํา” ของชําวอมรได้
สถาปัตยกรรมเกี่ยวกับพิธีศพภายหลังพุทธศตวรรษที่ ๑๙ ในประเทศอินเดีย
ในวัฒนธรรมฮินดู ก่อนพุทธศตวรรษท่ี ๑๙ ไม่มีกํารสร้ํางอําคํารสําหรับเผําศพหรือเป็นที่ ระลกึ ถงึ คนตํายเลยไมว่ ํา่ บคุ คลนนั้ จะเปน็ สํามญั ชนหรอื กษตั รยิ ์ อนงึ่ จํา เปน็ ตอ้ งระลกึ วํา่ ในวฒั นธรรม อินเดียสมัยโบรําณ ไม่มีคติกํารเช่ือมโยงคติกษัตริย์เป็นอวตํารของเทพเจ้ําตํามลัทธิ “เทวรําชํา” (Dei ed King) เช่นกัน จึงไม่มีกํารยกย่องกษัตริย์ในฐํานะเทพเจ้ําหรือสร้ํางสถําปัตยกรรมอันเป็น ที่ระลึกถึงกษัตริย์หรือบุคคลที่ตํายไปแล้วใดๆ อย่ํางไรก็ตําม ประเด็นน้ีจําเป็นต้องยกเว้นวัฒนธรรม ทํางพุทธศําสนําทั้งในประเทศอินเดียและเอเชียอําคเนย์ที่มีกํารสร้ํางสถูปเพ่ือรําลึกถึงพระพุทธเจ้ํา ผู้ปรินิพพํานไปแล้ว และมีกํารยกย่องพระองค์เป็นพระจักรพรรดิโดยกํารใช้ฉัตรวลีปักบนยอดสถูป กรณีน้ีถือเป็นกรณียกเว้นในวัฒนธรรมอินเดีย
๑๐
ศิลปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ ๒๑๙
เสด็จสู่แดนสรวง


































































































   219   220   221   222   223