Page 223 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 223
เอเชียอาคเนย์ การเช่ือมโยงอาคารที่เกี่ยวข้องกับพิธีศพเข้ากับภูเขา
ดังที่ได้กล่ําวไปแล้วว่ํา ไม่มีกํารสร้ํางอําคํารสําหรับเผําศพในวัฒนธรรมอินเดียดั้งเดิมเลย ด้วยเหตุนี้ อําคํารสําหรับกํารเผําศพจึงเป็นวัฒนธรรมพ้ืนเมืองของเอเชียอําคเนย์เท่ํานั้น นอกจํากนี้ สถําปัตยกรรมและประติมํากรรมที่ระลึกถึงบุคคลที่ตํายไปแล้วในลักษณะต่ํางๆ อันได้แก่ ประติมํากรรมฉลองพระองค์ หรือเทวําลัยที่อุทิศให้คนตําย กลับได้รับควํามนิยมอย่ํางมํากทั่วเอเชีย อําคเนย์ ดังเช่นประติมํากรรมฉลองพระองค์และเทวําลัยบนฐํานเป็นชั้น/เทวําลัยอุทิศให้บรรพบุรุษ ในศลิ ปะขอมสมยั เมอื งพระนคร หรอื ประตมิ ํากรรมฉลองพระองคห์ รอื เทวําลยั อทุ ศิ ใหค้ นตํายในชวํา ภําคตะวันออก เป็นต้น
ประเด็นนี้ย่อมแสดงให้เห็นว่ํา ลัทธิเทวรําชํา หรือลัทธิที่ยกย่องกษัตริย์เป็นอวตํารของ เทพเจ้ําและกลับสู่ควํามเป็นพระเป็นเจ้ําเม่ือสวรรคตแล้ว เป็นแรงผลักดันสําคัญที่ทําให้เกิด สถําปัตยกรรมและประติมํากรรมระลึกถึงบุคคลท่ีตํายไปแล้วในเอเชียอําคเนย์ โดยมีกํารนําเอํา เทพเจ้ําหรือพระพุทธเจ้ําซ่ึงเป็นทิพยบุคคลจํากวัฒนธรรมอินเดีย มําใช้และทําให้บุคคลที่มีชีวิตอยู่ เป็นเทพเจ้ําผู้ยังทรงพระชนม์ชีพ (dei ed living person)
ดังนั้น เมื่อกษัตริย์/บุคคลน้ันได้กลับไปสวรรค์แล้ว จึงจําเป็นท่ีจะต้องสร้ํางอําคํารเพ่ือ กําร “สง่ เสดจ็ สสู่ วรรค”์ กระบวนกํารนเ้ี องทท่ี ํา ใหเ้ กดิ อําคํารสํา หรบั ถวํายพระเพลงิ ในวฒั นธรรมไทย และในเมื่อ “สวรรค์” ในคติฮินดู-พุทธเกี่ยวข้องกับ “ภูเขํา” จึงเรียกอําคํารสําหรับกํารถวําย พระเพลิงนี้ว่ํา “เมรุ”
กระบวนกํารผกู “อําคํารถวํายพระเพลงิ ” เขํา้ กบั “ภเู ขํา” ในศลิ ปกรรมไทย ใชก้ ระบวนกําร ทํางประติมํานวิทยําหลักๆ ๔ ประกําร คือ
ประกํารแรก ตั้งชื่ออําคํารสําหรับถวํายพระเพลิงว่ํา “เมรุ”
ประกํารที่สอง สร้ํางฐํานสูงซ้อนเป็นช้ันๆ เพ่ือแสดงนัยยะถึงภูเขํา
ประกํารที่สําม กํารใช้ส่ิงมีชีวิตท่ีอยู่บนสวรรค์เช่น เทวดํา พรหม สัตว์หิมพํานต์ ฯลฯ
มําประดับเมรุหรือมําเกี่ยวข้องกับงํานพระเมรุเพื่อให้สวรรค์ในจินตภําพปรํากฏเป็นรูปธรรมชัดเจน ประกํารสุดท้ําย กํารใช้ยอดปรําสําทมําเป็นยอดพระเมรุ ซึ่งแม้ว่ํายอดปรําสําทนั้นจะ หมํายถึงอําคํารซ้อนช้ันโดยรูปธรรม ทว่ําโดยอีกคติควํามเชื่อหน่ึงท่ีแฝงมําตั้งแต่กํารสร้ํางเทวําลัย ในอนิ เดยี กค็ อื ยอดปรําสําทยอ่ มหมํายถงึ ภเู ขําไดโ้ ดยนยั ปรําสําทยอดพระเมรจุ งึ หมํายถงึ ยอดภเู ขํา
ด้วย อันทําให้อําคํารโดยรอบสํามํารถผูกคติได้กับเขําสัตตบริภัณฑ์
สรุป
จะเห็นได้ว่ํา อินเดียไม่มีอําคํารสําหรับเผําศพ ส่วนคําว่ํา “เมรุ” น้ันกลับผูกกับเทวําลัย อันมีควํามหมํายโดยนัยส่ือถึงภูเขําอันเป็นสวรรค์ที่ประทับของเทพเจ้ํา ต่อมําในเอเชียอําคเนย์ โดย เฉพําะในวัฒนธรรมไทย ได้มีกํารสร้ํางอําคําiสําหรับถวํายพระเพลิงและมีกระบวนกํารผูก “คติ ภูเขํา-สวรรค์” กับอําคํารดังกล่ําวโดยต้ังชื่อว่ํา “เมรุ”
๑๐
ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ ๒๒๑
เสด็จสู่แดนสรวง