Page 225 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 225
๑
สุเมรุบรรพต ในจักรวาลวิทยาอินเดียและสยาม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชานป์วิชช์ ทัดแก้ว
สาขาวิชาภาษาเอเชียใต้ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ในกํารพระบรมศพและพระศพของเจ้ํานําย หรือศพของสํามัญชน สิ่งที่เก่ียวข้องกับเรื่องนี้ คือ สถํานที่ในกํารปลงศพ ที่เรียกว่ํา “พระเมรุ” หรือ “เมรุ” (ในกรณีของเจ้ํานํายนั้น มีเมรุหลําย ประเภท)๑ หํากกล่ําวถึง (พระ)เมรุ ที่ใช้ปลงศพแล้ว ส่วนใหญ่เช่ือกันว่ําเป็นสถําปัตยกรรมที่สร้ําง โดยมีแนวคิดเรื่องเขําพระสุเมรุ และสวรรค์ ซึ่งเป็นเร่ืองโลกศําสตร์ และจักรวําลวิทยําอินเดียอยู่ เบื้องหลัง แต่เมื่อเปรียบเทียบกับธรรมเนียมในกํารปลงศพของอินเดียแล้ว จะทรําบว่ํา สถํานท่ี ในกํารปลงศพนั้นเรียกแตกต่ํางออกไป และไม่เคยปรํากฏว่ํา อินเดียใช้คําว่ํา “เมรุ” อย่ํางไทยด้วย
ดังนั้น กํารสร้ําง “พระเมรุ” น่ําจะเป็นพัฒนํากํารที่เกิดขึ้นในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มํากกว่ําที่เรําจะรับมําโดยตรงจํากอินเดีย และใช้อย่ํางวัฒนธรรมต้นทําง ถึงกระนั้นก็ตําม ไม่ว่ําจะ เป็น “เมรุ” ในบริบทอินเดีย หรือจะเป็น “เมรุ” ในบริบทไทยก็ตํามล้วนแล้วแต่เกี่ยวข้องกับแนวคิด โลกศําสตร์เร่ือง “เขําพระสุเมรุ” ท้ังส้ิน จึงควรท่ีจะนําแนวคิดน้ีมํากล่ําวไว้เป็นควํามรู้
ความหมายและที่มาของคา “เมรุ”
เมรุ หรือ สุเมรุ ตํามพจนํานุกรมสันสกฤตให้ควํามหมํายไว้ว่ํา เป็นช่ือภูเขําวิเศษใน เทวปกรณ์ กล่ําวกันว่ํามีรูปทรงกลม เป็นศูนย์กลํางของจักรวําล แวดล้อมด้วยทวีปต่ํางๆ ดวงดําว ต่ํางๆ ต่ํางโคจรรอบเขํานี้ ส่วนท่ีมําของคํา พจนํานุกรมสันสกฤตไม่ได้ให้รํายละเอียดไว้มํากนัก มีกล่ําวถึงในอุณําทิสูตร๒ (Uṇ. iv, 101) เท่ํานั้น นอกจํากคําว่ํา เมรุ หรือ สุเมรุ แล้วยังมีคําอ่ืนๆ
๑ ดูเพ่ิมเติมใน นนทพร อยู่มั่งมี. ธรรมเนียมพระบรมศพและพระศพเจ้านาย. กรุงเทพฯ : บริษัทมติชนจํากัด มหําชน (ฉบับพิมพ์ครั้งที่ ๒), ๒๕๕๙.
๒ อณุ ําทสิ ตู ร เปน็ ภําคผนวกของไวยํากรณอ์ ษั ฏําธยํายขี องปําณนิ ิ สตู รนกี้ ลํา่ วถงึ ปจั จยั และกรยิ ําธําตุ (verbal root) ของศัพท์ ที่มีเพียงหนึ่งเดียวเท่ํานั้น ไมใช่ปัจจัยและธําตุปกติ นั่นแสดงว่ํา คํา “เมรุ” ในภําษําสันสกฤตมีที่มําไม่ แน่ชัด นักไวยํากรณ์พยํายํามที่จะอธิบํายท่ีมําโดยวิธีน้ี
ศิลปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ ๒๒3
เสด็จสู่แดนสรวง