Page 226 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 226

ที่ใช้เรียกภูเขําน้ี เช่น เหมําทริ (ภูเขําทอง) รัตนสํานุ (มียอด หรือ สันเขําเป็นอัญมณี) สุรําลัย (ที่อยู่ ของเทวดํา) อมรําทริ (ภูเขําของเทวดํา) ภูสวรรคะ (สวรรค์บนพื้นโลก) เป็นต้น
ในภําษําบําลี ตํามพจนํานุกรมศัพท์วิเครําะห์ รูปวิเครําะห์ของคําว่ํา เมรุ มําจําก มิ ธําตุ “เบียดเบียน” ภูเขําท่ีเบียดบังภูเขําทั้งหมดด้วยควํามสูงกว่ําของตนเอง (มินําติ สพฺเพ ปพฺพเต อตฺตโน อุจฺจตรตฺเตนําติ เมรุ) หรือ ภูเขําที่เบียดเบียนควํามมืดด้วยรัศมี (มินําติ หึสติ รสีหิ อนฺธกํารนฺติ เมรุ) หรือ เม ธําตุ “แลกเปลี่ยน” ภูเขําที่เป็นที่แลกเปล่ียนควํามอภิรมย์กันแห่งพวก เทวดํา (เมนฺติ มยนฺติ วํา อําททนฺติ ปฏิททนฺติ เอตฺถําติ เมรุ) ส่วนคํา สุเมรุ ถือว่ํา เป็นกํารเพิ่ม อุปสัค สุ- “ดี งําม” เข้ํามํา นอกจํากน้ี ในคัมภีร์ภําษําบําลียังนิยมใช้คําว่ํา สิเนรุ ในควํามเดียวกับ เมรุและสุเมรุ มีคําอธิบํายว่ํามําจําก สินํา ธําตุ “ทําให้สะอําด” ภูเขําท่ีทําให้พวกเทพสะอําด (สินําติ สุจึ กโรติ เทเวติ สิเนรุ) (พระมหําโพธิวงศําจํารย์ ๒๕๕๘: ๗๒๑)
พระสุเมรุบรรพต สวรรค์ และชมพูทวีปในคติฮินดู
ในพระเวททั้ง ๔ ได้แก่ คัมภีร์ฤทเวท ยชุรเวท สํามเวท และอําถรรพเวท ซ่ึงเป็นคัมภีร์ เกํา่ แกท่ สี่ ดุ ยงั ไมป่ รํากฏชอื่ เขําพระสเุ มรุ มกี ลํา่ วถงึ แตภ่ เู ขําหมิ วตั (หมิ พํานต)์ หรอื หมิ ําลยั เทํา่ นน้ั ในสมัยต่อมํา คัมภีร์ไตตติรียะอํารัณยกะได้กล่ําวถึงช่ือ “มหําเมรุ” ซึ่งก็คือภูเขําพระสุเมรุ ท่ีเป็น ศูนย์กลํางของโลกในควํามเชื่อสมัยต่อๆ มํานั่นเอง (Kirfel 1967: 11) เป็นที่น่ําสังเกตว่ํา ในสมัยแรก ควํามคิดเรื่องศูนย์กลํางของโลกในหมู่ชําวอํารยันยังไม่ปรํากฏ โลกในควํามหมําย ของชําวอํารยันยุคแรก ประกอบด้วย ๓ ส่วน หลัก คือ พ้ืนดิน (ภู) กลํางหําว หรือช่องว่ํางระหว่ําง ดินและฟ้ํา (อันตริกษะ) และท้องฟ้ํา (สวรร หรือ เทยําส์) แต่ละส่วนก็จะมีเทวดําประจําอยู่ นับรวมได้ ๓๓ องค์ ส่วนที่เป็นท้องฟ้ํา เป็นที่โคจรของพระอําทิตย์ พระจันทร์และดวงดําวต่ํางๆ (Basham 1977: 490)
โดยปกติแล้ว สวรรค์ปิดอยู่เสมอไม่สํามํารถเข้ําออกโดยง่ําย แต่มีประตูที่เทพและบุคคล อนื่ ๆ เขํา้ ออกโดยใชป้ ระตเู ดยี วกนั ในศตปถพรําหมณะกลํา่ ววํา่ ประตสู วรรคอ์ ยทู่ ํางทศิ เหนอื สว่ นประตู สู่โลกของปิตฤ (โลกของผู้วํายชนม์ หรือ บรรพบุรุษ) อยู่ทํางทิศตะวันออกเฉียงใต้ (Kirfel ๑๙๖๗: ๓๘) สวรรค์ในยุคโบรําณมี ๓ ชั้นเท่ํานั้น อําถรรพเวท ให้ชื่อว่ํา อุทันวตี (สวรรค์น้ํา) ซ่ึงต่ําสุด ปีลุมตี เป็นสวรรค์ชั้นกลําง และ ตฤตียํา (สวรรค์ชั้นที่ ๓) เป็นสวรรค์ชั้นสูงสุด ในสวรรค์ชั้นสูงสุดนี้ เป็นภพของพระอินทร์ หรือ ท้ําวศักระ (Kirfel 1967: 42) ในช้ันแรกยังไม่ปรํากฏว่ําสวรรค์น้ัน ตั้งอยู่บนสิ่งใด แต่เชื่อว่ําท้องฟ้ํานั่นเองคือ สวรรค์ อันเป็นที่สถิตของทวยเทพใหญ่
แนวคิดที่ว่ํา โลกมีแกนกลํางที่เป็นหลักของโลกน้ันเริ่มพัฒนําในสมัยหลัง ฮินดูเช่ือว่ํา จักรวําลมีรูปร่ํางดังไข่เรียกว่ํา “พรหมําณฑะ” (ไข่แห่งพรหม) ซึ่งแบ่งออกเป็น ๒๑ ส่วน โลกมนุษย์ เป็นส่วนตรงกลําง นับแต่ด้ํานบน ส่วนด้ํานบน ๖ ส่วน เป็นสวรรค์ ด้ํานล่ํางของโลกลงไป ๗ ส่วน เป็นบําดําล ซึ่งเป็นที่อยู่ของนําคและอมนุษย์อื่นๆ ถัดจํากบําดําลเป็นนรก นอกจํากแนวคิดนี้ ยังมีควํามเชื่อจักรวําลวิทยําอ่ืนท่ีเป็นที่นิยมแพร่หลํายในคัมภีร์ศําสนําสมัยหลังๆ กล่ําวคือ โลกน้ี แบนรําบ กว้ํางใหญ่ไพศําล ตรงศูนย์กลํางเป็นเขําพระสุเมรุ มีพระจันทร์ พระอําทิตย์ และดวงดําว โคจรอยู่รอบ รอบเขําพระสุเมรุ มีทวีปท้ัง ๔ ตั้งอยู่ โดยมีมหําสมุทรคั่นระหว่ํางพระสุเมรุและทวีป
เสด็จสู่แดนสรวง
๒๒4 ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ


































































































   224   225   226   227   228