Page 228 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 228
ในคติทํางฝ่ํายฮินดู ชมพูทวีป โดยเฉพําะภํารตวรรษเป็นส่วนที่ใกล้เขําพระสุเมรุมํากที่สุด และมีหิมวัต หรือหิมวันต์ เป็นเทือกเขําที่อยู่ตรงเชิงเขําพระสุเมรุ ภํารตวรรษนี้มีมนุษย์อยู่หนําแน่น เมื่อข้ํามหิมวัตไปแล้วก็เหมือนเป็นอีกโลกหนึ่ง คือ โลกของเทพเจ้ํา กํารเข้ําถึงเขําพระสุเมรุ จึงเป็น กํารเปลี่ยนภพภูมิ และสภําวะจิต โดยเฉพําะกํารขึ้นถึงยอด อันเป็นนครของพระอินทร์ (Mabbet 1983: 68)
นอกจํากนี้ บํางครั้งพระสุเมรุก็มีลักษณะเป็นบุคลําธิษฐําน เช่น เมื่อท้ําวปฤถุกระทําให้ แผน่ ดนิ แปลงเปน็ แมโ่ คและใหบ้ คุ คลตํา่ งๆ มํารดี นมจํากนํางเมรรุ ําช เปน็ ตวั แทนของภเู ขําในกํารรดี ควํามอุดมสมบูรณ์จํากแผ่นดิน ในพิธีสยุมพรของพระศิวะและพระนํางปํารวตี เมรุรําชได้รับเชิญ มําเป็นที่ปรึกษําแก่ท้ําวหิมวัต บิดําของพระนํางปํารวตีในมหําภํารตะสภําบรรพ เมรุรําชร่วมกับ ขุนเขําต่ํางๆ กระทําสักกําระพระกุเวร (Mabbet 1983: 73)
เมอ่ื กลํา่ วถงึ สวรรคใ์ นควํามหมํายของฮนิ ดนู นั้ โดยมํากเจําะจงหมํายถงึ พภิ พของพระอนิ ทร์ ผู้เป็นจอมเทพเท่ํานั้น ในพระเวท พระอินทร์เป็นเทวดําท่ีอยู่ในชั้นบรรยํากําศ เป็นผู้โปรยปรํายฝน มีที่ประทับในหมู่เมฆ เป็นที่เกรงกลัว เพรําะเป็นเทพแห่งฟ้ําฝนและผู้ฟําดสํายฟ้ํา ในขณะเดียวกัน ก็เป็นเทพที่ก่อเกิดควํามอุดมสมบูรณ์ พระอินทร์มักจะมีพระวํายุเทพแห่งลมเป็นสหําย ในฐํานะ ที่เป็นจอมเทพ พระอินทร์จึงมีบทสวดกล่ําวถึงอยู่มําก พระอินทร์เป็นตัวแทนของ “กําลัง” เป็นเทพ ท่ีหนุ่มอยู่เสมอ เป็นวีรบุรุษ กล้ําหําญ และจิตใจกว้ํางขวําง พระองค์เป็นผู้นําเหล่ํากษัตริย์นักรบ ท้ังยังปกป้องพวกเขําด้วยวัชระ (สํายฟ้ํา) และ ธนู (อินทรธนู คือ สํายรุ้ง)
ในสมัยต่อมํา พระอินทร์มีสถํานะต่ําลง แต่ก็ยังคงดํารงตําแหน่งเป็นจอมแห่งเทวดํา ทั้งหลําย เป็นเจ้ําแห่งพิธีบวงสรวง นักฟ้อน และเจ้ํามํายํา ศัตรูของพระอินทร์คือเหล่ํากอของ นํางทิติ และนมุจิ ซ่ึงเป็นอสูรท่ีขัดขวํางไม่ให้น้ําจํากฟ้ําตกลงมําในโลก และปุโลมันซ่ึงเป็นบิดําของ พระนํางศจีท่ีพระอินทร์พําหนีมํา พระอินทร์โปรดท่ีจะดื่มน้ําเมําและควํามสํารําญ โดยเฉพําะโปรด เคร่ืองด่ืม “โสมะ” ซ่ึงตนได้ขโมยมําจํากกัศยปะ บิดําของตน
นอกจํากนี้ พระอนิ ทรเ์ ปน็ โลกบําลทํางทศิ ตะวนั ออก มโี อรส ๓ องค์ นํามวํา่ ชยนั ตะ ฤษภะ และ มีฒุษะ (ตํามภําควตปุรําณะ) มีพําหนะคือช้ํางไอรําวตะ (หรือ ไอรําวณะ) มีสี่งํา ตัวโตดัง เขําไกลําส มีม้ําทรงช่ืออุจไจศวะ วิมํานมีชื่อว่ํา ไจตระ ภํายในบรรจุอําวุธนํานําประกําร มีเสําธง รถศึกเรียกว่ํา ไวชยันตะเป็นสีทองและสีขําบ (นีละ) สํารถีของพระอินทร์ชื่อว่ํา มําตลิ (ไทยเรียก มําตลี หรือ มําตุลี) ชํายําของพระมําตลิ ชื่อ สุธรรมํา มีธิดํา ชื่อ คุณเกศี พระอินทร์ทรงถือตะขอ บว่ งบําศ ธนชู อื่ วชิ ยั กค็ อื สํายรงุ้ นนั่ เอง ดําบชอื่ ปรญั ชยะ และสงั ขช์ อ่ื เทวทตั ต์ แตอ่ ําวธุ หลกั ประจํา ตวั พระอินทร์ คือ สํายฟ้ําและเวทย์มนตร์ เมืองของพระอินทร์ช่ือว่ํา อมรําวตี (อมรําวดี) ซึ่งตั้งอยู่ บนเขําพระสุเมรุ มีสวนชื่อ นันทนะ กันทสําระ หรือ ปํารุษยะ (Daniélou 1991: 107-111)
ในเทพปกรณ์ของฮินดู วรรณะกษัตริย์โดยเฉพําะพระรําชําผู้เกรียงไกรมักจะได้รับ กํารยกย่องว่ําเป็นสหํายของพระอินทร์ บํางองค์เคยแม้กระท่ังครองสวรรค์ร่วมกับพระอินทร์ เช่น พระเจ้ํามํานธําตฤ (Dowson 1928: 197-8) เป้ําหมํายในบั้นปลํายชีวิตของกษัตริย์อย่ํางหน่ึง กค็ อื กํารไดข้ นึ้ สวรรค์ คอื กํารไปอยใู่ นอมรําวดนี ครของพระอนิ ทร์ ดงั เชน่ ปรํากฏในสวรรคโรหนบรรพ
เสด็จสู่แดนสรวง
๒๒๖ ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ