Page 230 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 230
ในคัมภีร์อภิธรรมโกศภําษยะ ซ่ึงเป็นอรรถกถําพระอภิธรรมของพุทธศําสนําเถรวําท นกิ ํายสรวําสตวิ ําทนิ กลํา่ วถงึ เขําพระสเุ มรใุ นลกั ษณะเดยี วกบั คมั ภรี ์ โลกทเี่ รําอยนู่ มี้ ชี อื่ วํา่ “ภําชนโลก” หมํายถงึ โลกทเ่ี ปน็ ทร่ี องรบั และเปน็ ทอ่ี ําศยั ของสตั วใ์ นภพภมู ติ ํา่ งๆ โลกนเี้ ปน็ แผน่ ดนิ ทองคํา มภี เู ขํา เรียงรํายจํากศูนย์กลํางออกไปถึงขอบจักรวําล ดังนี้ คือ เมรุ ยุคนธระ อีษําธําระ ขทิรกะ สุทรรศนะ อัศวกรรณะ วินตกะ นิมินธระ และจักรวําฑะ (บ.จักรวําฬ) ทวีปทั้ง ๔ ต้ังอยู่ถัดจํากนิมินธร เขําสัตตบริภัณฑ์ที่รํายรอบภูเขําพระสุเมรุนั้นเป็นทองคํา ส่วนเขําจักรวําฑะเป็นเหล็ก เขําพระสุเมรุ มีควํามพิเศษ คือ แต่ละด้ํานไม่เหมือนกัน ด้ํานเหนือเป็นทองคํา ด้ํานตะวันออกเป็นเงิน ด้ํานใต้ เป็นไพฑูรย์สีน้ําเงิน และ ด้ํานตะวันตกเป็นแก้วผลึก๔ เพรําะว่ําพ้ืนผิวพระสุเมรุด้ํานใต้เป็นไพฑูรย์ สีน้ําเงิน ดังนั้นท้องฟ้ําของชมพูทวีป ซึ่งอยู่ทํางทิศใต้ของเขําพระสุเมรุจึงเป็นสีน้ําเงินไปด้วย
เขําพระสุเมรุมีระเบียง (ปริสัณฑํา) ๔ ชั้น ชื่อ กโรฏปําณิ มําลําธําระ สทํามทะ และ มหํารําชกิ ะ ตํามลํา ดบั เปน็ ทอี่ ยขู่ องพวกเทวดําชนั้ จตมุ หํารําชกิ ํา ดํา้ นบนเขําพระสเุ มรเุ ปน็ ลํานกวํา้ ง รูปสี่เหล่ียมจตุรัส ด้ํานละ ๘๐,๐๐๐ โยชน์ เป็นที่ตั้งของนครของเทวดําชั้นดําวดึงส์ บ้ํางก็ว่ํา เป็นสี่เหล่ียมผืนผ้ํา กว้ําง ๒๐,๐๐๐ โยชน์ ยําว ๘๐,๐๐๐ โยชน์ ตรงมุมทั้ง ๔ ด้ํานมีชะงุ้ม อันเป็น ที่อยู่ของพวกวัชรปําณี (ยักษ์พวกหนึ่ง) นครของพระอินทร์ชื่อ สุทรรศนะ มีปรําสําทตรงกลําง ชอื่ ไวชยนั ตะ ซงึ่ แตล่ ะมมุ ปรําสําทมสี วน ชอื่ ไจตรรถะ ปํารษุ ยะ มศิ ระ และนนั ทนะ ทํางทศิ ตะวนั ออก เฉียงเหนือมีต้นปําริชําตกะ (ปําริชําต) ทํางตะวันตกเฉียงใต้มีเทวสภําช่ือ สุธรรมํา ส่วนเทวดําชั้น อ่ืนๆ ท่ียิ่งกว่ําเทวดําช้ันดําวดึงส์ อยู่ไม่ติดพื้นเขําพระสุเมรุ แต่มีวิมํานลอยอยู่เหนือพระสุเมรุ
อนงึ่ ขอกลํา่ วถงึ ชมพทู วปี พอสงั เขป ชมพทู วปี นนั้ มภี เู ขํา ๙ ลกู เรยี กวํา่ กฏี ทริ อยกู่ ลํางทวปี ถัดข้ึนไปทํางเหนือเป็นภูเขําหิมวัต และสุดปลํายทวีปเป็นภูเขําคันธมําทน์ อีกด้ํานของคันธมําทน์ มีทะเลสําบช่ือ อนวตัปตะ (อโนดําต) ซ่ึงเป็นต้นน้ําของแม่น้ํา ๔ สําย ได้แก่ คงคํา สินธุ วักษุ และ ศีตะ (Gelong 2012: 1049-1056)
เมื่อเปรียบเทียบกันระหว่ํางคติฮินดูและพุทธ จะเห็นถึงควํามเหมือนและแตกต่ํางอย่ําง ชัดเจน สิ่งที่พ้องกัน ได้แก่ เขําพระสุเมรุเป็นแกนกลํางของโลก บนยอดเขําเป็นที่ตั้งของนคร ของพระอนิ ทร์ ในชมพทู วปี มภี เู ขําหมิ วตั สงิ่ ทต่ี ํา่ งกนั กค็ อื ชมพทู วปี ในคตขิ องฮนิ ดอู ยใู่ กลพ้ ระสเุ มรุ มํากทสี่ ดุ หมิ วตั เปน็ ภเู ขําทอี่ ยใู่ กลช้ ดิ กบั พระสเุ มรุ เมอื่ ขํา้ มหมิ วตั ไปกส็ ํามํารถพอเขํา้ ถงึ พระสเุ มรไุ ด้ ในขณะที่คติพุทธ ไม่มีมรรตัยชน ที่ปรําศจํากอํานําจวิเศษสํามํารถเข้ําถึงพระสุเมรุได้ เนื่องจํากอยู่ ห่ํางไกล มีเขําสัตตบริภัณฑ์และทะเลสีทันดรก่อนอยู่อย่ํางละเจ็ด สถํานท่ี ที่มนุษย์พอจะเข้ําถึงได้ก็ คือแถบหิมวันตประเทศ อันเป็นท่ีพํานักของฤษี นักสิทธิ์ วิทยําธร และมีพันธุ์สัตว์และพืชประหลําด นํา่ อศั จรรยใ์ จ กํารไปสสู่ วรรคข์ องพทุ ธศําสนําสํา เรจ็ ผลไดด้ ว้ ยกศุ ลกรรมของแตล่ ะคน ไมใ่ ชก่ ํารเดนิ ทํางจําริกไป หรือ เข้ําถึงสวรรค์ได้ด้วยกํารขึ้นเขําพระสุเมรุ
๔ ฝ่ํายบําลี ในอรรถกถําสังยุตตนิกําย นิทํานวรรค อนมตัคคสังยุตต์ ปฐมวรรค อัสสุสูตร กล่ําวว่ํา เขําพระสุเมรุ ทําง ด้ํานเหนือเป็นทองคําทํางด้ํานตะวันออกเป็นเงิน ทํางด้ํานใต้เป็นแก้วมณี ทํางด้ํานตะวันตกเป็นแก้วผลึก ส่วนใน คัมภีร์สมันตปาสาทิกา และวิสุทธิมรรค กล่ําวต่ํางไปเล็กน้อยว่ํา ด้ํานใต้เป็นอินทนิล (สีขําบ สีน้ําเงินอมม่วง)
เสด็จสู่แดนสรวง
๒๒๘ ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ