Page 232 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 232
อย่ํางไรก็ดี ในฝ่ํายอินเดีย “เมรุ” นั้นไม่เกี่ยวข้องกับ “กํารตําย” หรือ “กํารปลงศพ” แต่อย่ํางใด เมื่อพิจํารณําในฝ่ํายสยําม รูปแบบสถําปัตยกรรมท่ีเรียกว่ํา “เมรุ” ที่ใช้ตรงกับอินเดีย ก็มีอยู่ เช่น เมรุทิศ และเมรุรํายท่ีวัดไชยวัฒนํารําม พระนครศรีอยุธยํา ที่ใช้ประดิษฐํานพระพุทธรูป สําคัญ (รุ่งโรจน์ ภิรมย์อนุกูล ๒๕๕๒: ๓๙๔-๓๙๖) น้ันตรงกับคติของอินเดียที่มีห้องหรือท่ีเรียกว่ํา ครรภคฤหะ ซึ่งไว้ประดิษฐํานสิ่งท่ีเคํารพบูชํา แต่ด้วยควํามเชื่อเร่ืองสถํานะของพระมหํากษัตริย์ และพระบรมวงศํานุวงศ์ว่ําเป็นสมมติเทพตํามลัทธิเทวรําช เมื่อ “สวรรคต” หรือ “สิ้นพระชนม์” ลงก็จะเสด็จคืนสู่ “สวรรค์”๖ ส่งผลให้สถํานที่ตั้งพระบรมศพหรือพระศพ เรียกว่ํา เมรุ พระเมรุ หรือ พระเมรุมําศ ซึ่งกํารประดับตกแต่งสิ่งก่อสร้ํางที่ประกอบต่ํางๆ ล้วนสะท้อนคติควํามเชื่อ เร่ืองพระสุเมรุบรรพตในทํางจักรวําลวิทยําทั้งฝ่ํายพุทธและฮินดูทั้งสิ้น (ดํารงรําชํานุภําพ ม.ป.ท.: ๒๔๗๐: ๑-๒; สมภพ ภิรมย์ ๒๕๓๙: ๔๐; นนทพร อยู่มั่งมี ๒๕๕๙: ๒๑๕; เสฐียรโกเศศ ๒๕๕๓: ๒๔๑-๒๔๕)
๖ คํา วํา่ สวรรคต นยี้ งั มรี อ่ งรอยควํามหมํายของ “สวรรค”์ ในควํามหมํายดงั้ เดมิ อยมู่ ําก คอื กํารไปสภู่ พของพระอนิ ทร์ ย่ิงเมื่อเก่ียวข้องกับเร่ือง “พระเมรุ” ด้วยแล้วย่ิงย้ําให้เห็นควํามเก่ียวข้อง ระหว่ํางคติเรื่องเขําพระสุเมรุกับอมรําวดี นครของพระอินทร์ ท่ีตั้งอยู่บนยอดเขําน้ัน แม้เรําจะเช่ือเรื่องของกํารที่พระมหํากษัตริย์เป็นอวตํารของพระวิษณุ หรือพระโพธิสัตว์ก็ตําม
เสด็จสู่แดนสรวง
๒3๐ ศิลปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ