Page 231 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 231

จิตรกรรมฝําผนังวําดเป็นภําพเขําพระสุเมรุท่ีวัดไชยทิศ บํางขุนศรี บํางกอกน้อย กรุงเทพ
คติเร่ืองสุเมรุบรรพต: จากอินเดียสู่สยาม
อันที่จริงคติเรื่องจักรวําลวิทยําและโลกศําสตร์ของไทยนั้น ได้รับอิทธิพลจํากอินเดีย ทงั้ ฝํา่ ยคตพิ ทุ ธศําสนําและฝํา่ ยศําสนําฮนิ ดู สง่ ผลใหเ้ กดิ งํานดํา้ นตํา่ งๆ ทงั้ ทเี่ ปน็ วรรณคดที เ่ี กยี่ วขอ้ ง กับโลกศําสตร์โดยตรง และงํานวรรณคดีอื่นๆ ที่ปรํากฏควํามคิดเร่ืองโลกศําสตร์และจักรวําลวิทยํา ในหลํายกรณี คติควํามเชื่อทั้งสองศําสนําก็ผสมผสํานปะปนกัน หรือจะเป็นงํานศิลปกรรม เช่น ภําพจิตรกรรมฝําผนัง สมุดภําพไตรภูมิ๕ งํานสถําปัตยกรรม ในบทควํามนี้จะขอกล่ําวถึง เร่ืองสถําปัตยกรรมพอสังเขป เพ่ือให้เห็นควํามเชื่อมโยงของสองวัฒนธรรม โดยเฉพําะอย่ํางย่ิง ในส่วนท่ีเก่ียวข้องกับกํารพระเมรุ
ในบริบทของอินเดีย คติเร่ืองพระเขําสุเมรุเก่ียวข้องกับสถําปัตยกรรมอินเดียทํางตรงและ ทํางออ้ ม สํา หรบั ทํางออ้ มก็ เชน่ คตกิ ํารสรํา้ งสถปู ดงั ที่ พ.ี มสุ (P. Mus) นกั วชิ ํากํารดํา้ นสถําปตั ยกรรม อินเดีย กล่ําวว่ํา สถูปในพุทธศําสนํานั้นเป็นสัญลักษณ์แทนเขําพระสุเมรุ ส่วนองค์สถูปที่เป็นทรง รูปไข่ หมํายถึง ตัวเขําพระสุเมรุ ส่วนยอดฉัตร (ฉัตรําวลี) หมํายถึง รูปภูมิ และส่วนหรรมิกํา หมํายถงึ สวรรคช์ นั้ ดําวดงึ ส์ กํา้ นฉตั ร (ยษั ฏ)ิ หมํายถงึ แกนโลก ซมุ้ ประตโู ตรณะทง้ั ๔ ดํา้ น หมํายถงึ ทิศทั้ง ๔ ในขณะท่ีนักโบรําณคดีอีกส่วนหน่ึงเชื่อว่ํา องค์ประกอบพ้ืนฐํานน้ีเป็นรูปจักร หรือ ล้อรถ เรื่องสัญลักษณ์จักรวําลเป็นเรื่องประยุกต์เข้ํากับโครงสร้ํางน้ีภํายหลัง ล้อรถน้ีหมํายถึง ธรรมจักร ซึ่งมีที่มําจํากล้อรถของพระอําทิตย์ก็เป็นได้ (Akira 2009: 29-30)
สําหรับทํางตรง “เมรุ” นอกจํากจะหมํายถึง “เขําพระสุเมรุ” แล้วยังเป็นชื่อเฉพําะงําน สถําปตั ยกรรมอยํา่ งหนงึ่ ดว้ ย เปน็ ศําสนําสถํานแบบฮนิ ดู ซงึ่ มหี ลงั คําซอ้ นลดหลนั่ กนั หลํายชน้ั (ปกติ มักเป็นหลังคําซ้อนกัน ๑๖ ชั้น หรือที่เรียกว่ําภูมิ) “เมรุ” รูปแบบหนึ่งมี ๖ ด้ําน หลังค้ําซ้อน ๑๒ ภูมิ มียอดหลังคํา (ศิขระ) หลํายยอด มีถ้ํา (กุหระ) หลํายห้องสูง ๙๖ ฟุต ในฝ่ํายเหนือ “เมรุ” เป็น รูปแบบงํานสถําปัตยกรรมท่ีสําคัญที่สุดและสูงท่ีสุดในบรรดํา ๒๐ แบบ และในฝ่ํายใต้เป็นรูปแบบ ท่ีล้ําเลิศที่สุดในบรรดํา ๓๒ แบบ (Mabbet 1983: 76)
๕ เรื่องกํารศึกษําสมุดภําพไตรภูมิ สํามํารถดูเพ่ิมเติมได้ใน รุ่งโรจน์ ภิรมย์อนุกูล. การศึกษาเชิงวิเคราะห์ที่มาของ สมุดภาพไตรภูมิ. วิทยํานิพนธ์ในหลักสูตรปริญญําปรัชญําดุษฎีบัณฑิต สําขําวิชําโบรําณคดีสมัยประวัติศําตร์ ภําควิชําโบรําณคดี มหําวิทยําลัยศิลปํากร ปีกํารศึกษํา ๒๕๕๒
๑
ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ ๒๒๙
เสด็จสู่แดนสรวง


































































































   229   230   231   232   233