Page 220 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 220

คาว่า “เมรุ” กับสถาปัตยกรรมเทวาลัยในศิลปะอินเดีย
“เทวําลัย” มําจํากกํารสมําสคําว่ํา เทวะ+อําลัย แปลว่ํา “ท่ีประทับของเทพเจ้ํา” กํารสร้ําง เทวําลัยในศิลปะอินเดียจึงหมํายถึงกํารจําลอง “บ้ําน” ของพระองค์ด้วยซ่ึงเป็นกํารเน้นย้ําคติ ที่ว่ํา พระเป็นเจ้ําในศําสนําฮินดูยังทรงพระชนม์ชีพ ด้วยเหตุนี้ จึงประทับใน “บ้ําน” ท่ีประกอบด้วย “ห้อง” อันเข้ําไปภํายในได้ ทั้งนี้แตกต่ํางไปจํากสถูปในศําสนําพุทธท่ีจําลองมําจํากหลุมฝังศพ ซงึ่ ไมส่ ํามํารถเขํา้ ไปภํายในได้ สง่ ผลทํา ใหห้ อ้ งกรใุ นสถปู ในศําสนําพทุ ธจงึ “ปดิ ตําย” ในขณะทหี่ อ้ ง ภํายในเทวําลยั หรอื ทเ่ี รยี กวํา่ “ครรภคฤหะ” นนั้ กลบั เปน็ หอ้ งทมี่ ปี ระตู อนั เนน้ ยํา้ ควํามเปน็ “บํา้ น” ของพระเจ้ําผู้ยังทรงพระชนม์ชีพ
นอกจํากจะเป็นบ้ํานของพระเป็นเจ้ําแล้ว เทวําลัยยังมีอีกลักษณะหน่ึงท่ีสําคัญและต้อง ปรํากฏเสมอก็คือ จะต้องเป็นอําคํารฐํานันดรสูงที่มียอดสูง อําคํารฐํานันดรสูงแบบนี้เรียกว่ํา “ปรําสําท” ซงึ่ มกั มยี อดสงู ทสี่ ดุ เสมอประดบั ไปดว้ ยชนั้ จํา ลองเลก็ ๆ จํา นวนมํากมําย ทงั้ น้ี ยอดปรําสําท ย่อมแตกต่ํางไปจํากอําคํารโดยทั่วไปที่มีหลังคําตัดหรือยอดเต้ีย
ในเม่ือสถําปัตยกรรมอินเดียเหนือ มีควํามพยํายํามสร้ํางเทวําลัยให้เป็นยอดปรําสําทท่ีมี ยอดสูง ด้วยเหตุน้ีจึงมีคุณสมบัติตรงกับ “ภูเขํา” (เมรุ / ไกลําส / สิเนรุ / ศิขระ) อันมียอดสูงสุด ในพื้นพิภพเช่นกัน และเป็นที่ประทับของเทพเจ้ําเช่นกัน เทวําลัยกับภูเขําจึงมีสมกํารเทียบเท่ํากัน ไปโดยปริยําย
ดว้ ยเหตนุ ้ี ปรําสําททปี่ ระทบั ของพระเปน็ เจํา้ ในศลิ ปะอนิ เดยี จงึ ถกู เรยี กชอ่ื วํา่ “เมร”ุ เสมอๆ อันแปลว่ําภูเขําในหลํายกรณีอีกด้วย ดังท่ีปรํากฏในโศลกบทที่ ๒๑ ในอัธยํายที่ ๕๖ ของคัมภีร์ ศิลปศําสตร์ชื่อว่ํา “สมรํางคณสูตรธําร” ดังนี้
Meruḥ prāsādarājaśca devānamālayo hi saḥ
เมรุ อันเป็นรําชําแห่งปรําสําทน้ัน เป็นท่ีประทับของเทพเจ้ําทั้งมวล
(Sharma 2007: 54)
หลํายครั้งท่ีกํารสร้ํางเทวําลัยทรงศิขระแบบอินเดียเหนือที่ประกบไปด้วยยอดเล็กอัน ซบั ซอ้ นนนั้ มกั ถกู เปรยี บเทยี บโดยนกั ประตมิ ํานวทิ ยําวํา่ หมํายถงึ ภเู ขําอนั สลบั ซบั ซอ้ น (ดเู พมิ่ เตมิ ใน Kamrisch 1976: 221-223) กํารประกบศิขระอันสลับซับซ้อนแบบน้ี เรียกกันในศัพท์ ทํางสถําปัตยกรรมอินเดียว่ํา “ระบบเศขรี” อันแปลตรงตัวว่ํา “ระบบภูเขํา” (ภําพท่ี ๔) (Tadgell 1990: 101-104) ซ่ึงเป็นกํารยืนยันว่ํา เทวําลัยในศิลปะอินเดียกับภูเขําเป็นสมกํารที่เทียบเท่ํากัน
ในเมื่อเทวําลัยยอดปรําสําทมีสมกํารทํางประติมํานวิทยําเทียบเท่ํากับภูเขํา ด้วยเหตุนี้ หอ้ งครรภคฤหะอนั เปน็ ทปี่ ระทบั ของเทพเจํา้ จงึ มกั ถกู เปรยี บเทยี บกบั “ถํา้ ” อนั เยอื กเยน็ ลกึ ลบั และ ตัดขําดจํากโลกภํายนอกอันเป็นท่ีประทับท่ีโปรดปรํานของพระศิวะ (Kamrisch 1976: 161-176) ดงั นนั้ หอ้ งครรภคฤหะจงึ ถกู เรยี กวํา่ “คหู ํา” ในภําษําบําลี หรอื “คฒู ํา” ในภําษําสนั สกฤต อนั หมําย ถึง “ถ้ํา” นั่นเอง
เสด็จสู่แดนสรวง
๒๑๘ ศิลปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ


































































































   218   219   220   221   222