Page 246 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 246

ประเดน็ ทนี่ ํา่ สนใจอกี ประกํารหนงึ่ ทแี่ สดงควํามสมั พนั ธร์ ะหวํา่ งพระเมรกุ บั ศลิ ปกรรมในรําช สํานักอื่นๆ ได้แก่ กํารทํายอดพรหมพักตร์ (หน้ําบุคคล ๔ หน้ํา) ประดับส่วนยอด ปรํากฏอยู่ใน เอกสํารโบรําณสมัยอยุธยําว่ําพรหมพักตร์เป็นองค์ประกอบสําคัญของพระเมรุระดับเอก อยู่ใน ตําแหน่งที่ถัดลงมําจํากยอดปรํางค์ ดังควํามว่ํา “...พระเมรุเอก... มียอดปรางค์ใหญ่ ๑ ฐานปรางค์มี ช้ันแว่นฟ้ารอบสองชั้น ถัดชั้นแว่นฟ้าลงมามีรูปพรหมภักตร์ประดับ...” (วินัย พงศ์ศรีเพียร ๒๕๕๑: ๑๒๖) พระเมรุพระบรมอัฐิสมเด็จพระปฐมบรมมหําชนกและพระบรมรําชชนนีของรัชกําลท่ี ๑ ยังคง มพีรหมพกัตรเ์ปน็องคป์ระกอบสําคญั ดงัปรํากฏอยใู่นโคลงถวํายพระเพลงิพระบรมอฐัพิระเจํา้หลวง ว่ํา “นวสูรพรหมภักตรเพ้ียง ภักตรพรหม” (พระเจ้ําบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นศรีสุเรนทร์ ๒๕๑๒ : ๗)
หนํา้ พรหมพกั ตรอ์ นั เปน็ องคป์ ระกอบสํา คญั ในงํานศลิ ปกรรมไทยนนั้ คงมที มี่ ําจํากใบหนํา้ บุคคล ๔ หน้ําที่ประดับยอดประตูเมืองพระนคร ตลอดจนยอดประตูศําสนสถํานหลํายแห่ง และยอด ของปรําสําทบํายน (ภําพท่ี ๑๐) เม่ือบ้ํานเมืองในดินแดนไทยยอมรับเอําวัฒนธรรมเขมรหลํายอย่ําง เข้ํามําปรับใช้ให้เหมําะกับตน กํารทําใบหน้ําทั้งสี่ประดับยอดอําคํารจึงเข้ํามําด้วย เช่น ยอดประตูวัด พระศรีรัตนมหําธําตุเชลียงในสมัยสุโขทัย ยอดประตูพระรําชวังโบรําณกรุงศรีอยุธยํา ปัจจุบันจัด แสดงในพิพิธภัณฑสถํานแห่งชําติ เจ้ําสํามพระยํา (ภําพที่ ๑๑) ลํายรดน้ําที่วังสวนผักกําดก็ทําซุ้ม ประตยู อดพรหมพกั ตร์ ครน้ั เมอื่ เขํา้ สสู่ มยั รตั นโกสนิ ทรก์ ํารทํา พรหมพกั ตรป์ ระดบั ซมุ้ ประตพู ระบรม มหํารําชวังยังคงเห็นได้อยู่ เช่น ประตูสนํามรําชกิจ ประตูพรหมศรีสวัสด์ิ ประตูพรหมโสภํา ประตู ดุสิตศําสดํา ไม่เว้นกระทั้งพระที่นั่งอมรินทรําภิเษกมหําปรําสําทท่ีรัชกําลที่ ๑ โปรดเกล้ําฯ ให้สร้ําง ข้ึนก็มียอดพรหมพักตร์ (บุญเตือน ศรีวรพจน์ ๒๕๔๕: ๑๗๐) น่ําเสียดํายที่พระท่ีนั่งองค์น้ีไฟไหม้ลง หมดแล้ว
ทั้งนี้ควํามหมํายของหน้ําพรหมพักตร์ท่ีประดับยอดอําคํารในสมัยอยุธยําไม่จําเป็นต้อง เหมือนกันกับจุดเริ่มต้นในประเทศกัมพูชํา ซึ่งในที่แห่งนั้นควํามหมํายท่ีแท้จริงยังเป็นท่ีถกเถียงอยู่ นอกจํากนี้ยังไม่จําเป็นต้องเป็นพระพักตร์ของพระพรหมในคติศําสนําพรําหมณ์ หรือพระพรหมใน คติพุทธศําสนํา แต่อําจหมํายถึงพักตร์ของเทวดําอื่นๆ ก็ได้ ดังน้ัน คําว่ําพรหมพักตร์มีสถํานะเป็น เพียงศัพท์ช่ํางท่ีสื่อถึงรูปแบบมํากกว่ําควํามหมํายที่หมํายถึงพระพรหม
สืบย้อนความสัมพันธ์สู่วัดสมัยอยุธยาตอนต้นและเทวาลัยวัฒนธรรมเขมร
จํากหัวข้อที่แล้วทําให้ทรําบว่ําพระเมรุในสมัยอยุธยําตอนปลํายมีสิ่งก่อสร้ํางหลักคือ พระเมรุใหญ่ตั้งเป็นประธําน ปิดล้อมพ้ืนท่ีด้วยสํามสร้ําง กึ่งกลํางและมุมของสํามสร้ํางมีอําคําร ทรงปรําสําทยอดปรํางค์รวม ๘ องค์ เรียกว่ําเมรุทิศเมรุรําย หรือเมรุทิศเมรุแทรก ดังตัวอย่ําง ภําพวําดพระเมรพุ ระบรมศพของสมเดจ็ พระเพทรําชํา แผนผงั ของพระเมรแุ บบนเ้ี ทยี บไดก้ บั แผนผงั ส่วนประธํานของวัดไชยวัฒนํารําม (แผนผังที่ ๑ และรูปภําพที่ ๕) โดยพระเมรุใหญ่แทนที่ด้วย พระปรํางค์ประธํานประดษิฐํานพระบรมสํารรีิกธําตุสํามสรํา้งก็คอืแนวระเบยีงคดที่ล้อมรอบอําคําร ทรงปรําสําทยอดปรํางคท์ เี่ รยี กในพระรําชพงศําวดํารวํา่ เมรทุ ศิ เมรรุ ํายมจี ํา นวน ๘ องค์ ตง้ั อยกู่ ง่ึ กลําง และมุมของพระระเบียง ย่อมเทียบได้กับเมรุทิศเมรุรํายหรือเมรุทิศเมรุแทรกที่อยู่กลํางด้ํานและมุม ของสํามสร้ํางนั่นเอง
เสด็จสู่แดนสรวง
๒44 ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ


































































































   244   245   246   247   248