Page 248 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 248
เหน็ ไดว้ ํา่ บรเิ วณดงั กลํา่ วไดร้ บั กํารเนน้ ควํามสํา คญั โดยใหม้ แี นวผนงั ยน่ื พน้ จํากระนําบปกตขิ องตวั ระเบยี ง คด ทําให้เกิดกระเปําะยื่นออกมํา ท้ังน้ีเฉพําะก่ึงกลํางด้ํานตะวันออกซ่ึงมีขนําดใหญ่ที่สุดได้รับ กํารออกแบบให้เช่ือมต่อกับพระวิหํารหลวง จนมองว่ําเป็นส่วนท้ํายของพระวิหํารหลวงก็ได้ โดย ส่วนบนของบริเวณนี้คงทําเป็นทรงจ่ัวล้อไปกับหลังคําวิหํารหลวง ในขณะท่ีอีก ๗ จุดที่เหลืออําจ ทําเป็นหลังคําเครื่องไม้ทรงจ่ัวจัตุรมุขมุงด้วยกระเบ้ืองเช่นที่พบตํามระเบียงคดของวัดหลํายแห่ง ในสมัยรัตนโกสินทร์ก็เป็นได้
กระเปาะท่ีกลางด้าน
ท้ายวิหาร
กระเปาะท่ีมุม ระเบียงคด
แผนผังที่ ๒ วัดรําชบูรณะ (ท่ีมํา: สันติ เล็กสุขุม ๒๕๒๙: ๑๕๘) ปรางค์
แผนผังของวัดในสมัยอยุธยําตอนต้นสัมพันธ์ใกล้ชิดกับแผนผังของปรําสําทในวัฒนธรรม เขมรยุคเมืองพระนคร เช่น ปรําสําทพนมรุ้ง (แผนผังที่ ๓) โดยมีปรําสําทหรือปรํางค์ประธํานตั้ง กงึ่ กลํางลอ้ มรอบดว้ ยระเบยี งคด กงึ่ กลํางดํา้ นทเี่ ปน็ ซมุ้ ประตแู ละมมุ ของระเบยี งคดไดร้ บั กํารเนน้ ให้ เด่นขึ้นด้วยกํารออกแบบให้มีขนําดใหญ่ มีผังจัตุรมุข หลังคําทรงจ่ัวซ้อนชั้นจนสูงกว่ําแนวตรงของ ระเบียงคด กํารออกแบบเช่นน้ีก็คือแบบแผนท่ีคลี่คลํายไปยังระเบียงคดวัดรําชบูรณะนั่นเอง
ทงั้ นสี้ ํา หรบั ปรําสําทเขมรบํางแหง่ อําจออกแบบสว่ นยอดของมมุ ระเบยี งคด รวมทง้ั ซมุ้ ประตู ทกี่ งึ่ กลํางใหเ้ ปน็ ปรํางคข์ นําดยอ่ มกไ็ ด้ จนทํา ใหป้ รํางคป์ ระธํานทอี่ ยตู่ รงกลํางซงึ่ มขี นําดสงู ใหญท่ ส่ี ดุ ล้อมรอบด้วยปรํางค์ขนําดเล็กอยู่ท่ีมุมทั้งส่ี หรือกลํางด้ํานทั้งสี่ หรือทั้งกลํางด้ํานและมุม ที่เห็นได้ ชัดเจนที่สุดคือปรําสําทนครวัด (ภําพที่ ๑๒, แผนผังที่ ๔)
ภําพปรํางค์ประธํานแวดล้อมด้วยปรํางค์ขนําดเล็กกว่ําโดยจัดวํางตําแหน่งไว้ที่มุมและ กึ่งกลํางด้ํานของระเบียงคดในศิลปะเขมรน้ี คงเป็นต้นเค้ําของพระเมรุใหญ่แวดล้อมด้วยพระเมรุทิศ พระเมรรุ ํายในสมยั อยธุ ยําตอนปลําย ผํา่ นกําลเวลําจนถงึ สมยั รชั กําลที่ ๔ และรชั กําลที่ ๕ ตํามลํา ดบั พระเมรุยอดปรํางค์จึงนับเป็นหน่ึงในมรดกทํางวัฒนธรรมจํากกัมพูชําที่วิวัฒน์ผ่ํานกําลเวลําหลําย ร้อยปีจนกลํายเป็นแบบแผนธรรมเนียมไทย
เสด็จสู่แดนสรวง
๒4๖ ศิลปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ