Page 250 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 250

แผนผังที่ ๔ ปรําสําทนครวัด ประเทศกัมพูชํา
ส่งท้าย : พระเมรุยอดปรางค์ตะกอนวัฒนธรรมเขมรในวัฒนธรรมไทย
พระเมรยุ อดปรํางคส์ งู เสยี ดฟํา้ นบั เปน็ มรดกตกทอดทํางวฒั นธรรมทกี่ ํา้ วขํา้ มผํา่ นกําลเวลํา มํายําวนําน หํากพระบําทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ําเจ้ําอยู่หัวไม่มีพระรําชประสงค์ให้ทําพระเมรุ ขนําดเลก็ ลงตงั้ แตค่ รงั้ งํานพระเมรขุ องพระองคเ์ อง บํางทใี นปจั จบุ นั นยี้ งั อําจเหน็ พระเมรยุ อดปรํางค์ ตํามอย่ํางบูรพกษัตริย์อยู่ก็เป็นได้
พระเมรุยอดปรํางค์สมัยรัตนโกสินทร์มีสํายสัมพันธ์สืบย้อนกลับไปยังพระเมรุยอดปรํางค์ สมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยําตอนปลําย และหํากสบื สําวเรอ่ื งรําวใหล้ กึ ลงไปจะพบวํา่ มตี น้ เคํา้ มําจํากวฒั นธรรม เขมรโบรําณแห่งเมืองพระนครอย่ํางใกล้ชิด
หลักฐํานทํางศิลปกรรมมํากมํายหลํายอย่ํางทําให้ปฏิเสธไม่ได้ว่ําวัฒนธรรมเขมรโบรําณ เข้ํามํามีบทบําทต่อกรุงศรีอยุธยําต้ังแต่ยุคแรกเริ่ม คําถํามที่น่ําสนใจคือ อะไรเป็นเหตุจูงใจให้ผู้นํา และผคู้ นชําวกรงุ ศรอี ยธุ ยํายอมรบั เอําวฒั นธรรมเขมรไวจ้ นกลํายเปน็ สว่ นหนง่ึ ของวฒั นธรรมอยธุ ยํา สว่ นหนงึ่ นํา่ จะเปน็ เพรําะกอ่ นกํา เนดิ กรงุ ศรอี ยธุ ยําอยํา่ งเปน็ ทํางกํารเมอื่ พ.ศ.๑๘๙๓ พน้ื ทภี่ ําคกลําง คุ้นเคยกับวัฒนธรรมเขมรโบรําณผ่ํานทํางกํารเมืองกํารปกครองและทํางวัฒนธรรมดีอยู่แล้ว เมือง ที่สําคัญมํากในระยะน้ีคือเมืองลพบุรี เชื่อกันอย่ํางแพร่หลํายว่ํากรุงศรีอยุธยําเกิดขึ้นจํากกํารร่วมมือ ร่วมใจระหว่ํางผู้นําและผู้คนของบ้ํานเมืองสองแห่ง คือ สุพรรณภูมิ (สุพรรณบุรี) กับลพบุรี (ละโว้) หํากพิจํารณําตํามแนวทํางนี้ย่อมไม่น่ําแปลกใจที่วัฒนธรรมเขมรจะได้รับกํารถ่ํายทอดมําสู่ กรุงศรีอยุธยําได้ เพรําะคนอย่ํางน้อยคร่ึงหนึ่งคุ้นเคยกับวัฒนธรรมเขมรดีอยู่แล้ว
เสด็จสู่แดนสรวง
๒4๘ ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ


































































































   248   249   250   251   252