Page 251 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 251
ศลิ ปวฒั นธรรมจํากกมั พชู ําสง่ ผลตอ่ ศลิ ปวฒั นธรรมกรงุ ศรอี ยธุ ยํามํากมําย โดยเฉพําะอยํา่ งยงิ่ ๒๑ กํารนับถือศําสนําพรําหมณ์ท่ีมีบทบําทในรําชสํานักอย่ํางมําก คติควํามเช่ือว่ํากษัตริย์กรุงศรีอยุธยํา เป็นสมมติเทพก็คงมีต้นเค้ํามําจํากคติเทวรําชําของกัมพูชําโบรําณ เม่ือกษัตริย์คือเทพยําดํา ท่ีลงมําปกครองบ้ํานเมืองดังน้ันปรําสําทรําชวังตลอดจนประเพณีในรําชสํานักจึงถือปฏิบัติโดยอิง กับคติสมมติเทพนี้
พระเมรุอันเป็นสถํานท่ีสุดท้ํายในโลกมนุษย์ที่พระบรมศพของกษัตริย์จะประทับอยู่ กร็ งั สรรคข์ นึ้ ภํายใตค้ ตวิ ํา่ กษตั รยิ ค์ อื เทพเจํา้ กํารเรยี กอําคํารนวี้ ํา่ พระเมรซุ ง่ึ มําจํากคํา เตม็ วํา่ พระสเุ มรุ อันเป็นภูเขําท่ีอยู่ใจกลํางจักรวําล บนยอดเขําเป็นท่ีประทับของเทพยดํา ย่อมสะท้อนให้เห็นถึงคติ ควํามเชื่อว่ํากษัตริย์คือเทพเจ้ําอย่ํางแน่ชัด พระบรมศพท่ีประทับในพระบรมโกศซ่ึงต้ังอยู่ภํายใน พระเมรุย่อมสื่อควํามหมํายถึงกํารเสด็จสู่สรวงสวรรค์ ริ้วขบวนแห่ต่ํางๆ ในพระรําชพิธีพระบรมศพ ได้ย้ําควํามคิดนี้อย่ํางชัดเจน
แนวคดิ ทํา นองเดยี วกนั นม้ี เี คํา้ เงอ่ื นปรํากฏอยใู่ นวฒั นธรรมเขมรโบรําณสมยั เมอื งพระนคร ด้วย แม้ว่ําจะไม่มีหลักฐํานกํารสร้ํางพระเมรุยอดปรํางค์ของกษัตริย์ในยุคนั้นอย่ํางชัดเจนก็ตําม แต่ศําสนสถํานหลํายแห่งที่มีปรํางค์ปรําสําทเป็นประธํานก็ทําข้ึนภํายใต้ควํามเช่ือว่ําเป็นที่ประทับ หลังสวรรคตของกษัตริย์ ซ่ึงพระองค์ได้แปรเปลี่ยนสถํานภําพจํากองค์อวตํารกลํายเป็นเทพเจ้ํา โดยสมบูรณ์ ศําสนสถํานในวัฒนธรรมเขมรบํางหลังจึงไม่ใช่ทิพยวิมํานของเทพเจ้ําตํามปรัมปรําคติ แบบพรําหมณ์อินเดีย หํากแต่เป็นที่ประทับของเทวกษัตริย์ผู้หลอมรวมเข้ํากับเทพเจ้ําน่ันเอง เช่น ปรําสําทนครวัด สถํานท่ีสถิตหลังสวรรคตของพระเจ้ําสุริยวรมันท่ี ๒ ท่ีซึ่งพระองค์ได้กลํายเป็น พระวิษณุเทพ ประทับอย่ํางนิรันดร์อยู่ภํายในปรํางค์ปรําสําทประธําน
พระเมรุยอดปรํางค์จึงนับเป็นหน่ึงในส่ิงตกทอดจํากวัฒนธรรมเขมรสู่วัฒนธรรมไทย ผ่ํานกํารปรับปรุงอย่ํางค่อยเป็นค่อยไปจนกลํายเป็นเอกลักษณ์ทํางวัฒนธรรมของไทยในที่สุด
ศิลปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ ๒4๙
เสด็จสู่แดนสรวง