Page 274 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 274
กค็ อื มํา้ แตง่ แฟนซเี ทยี มพระมหําพชิ ยั รําชรถกฤษฎําธํารเชญิ พระโกศพระบรมอฐั แิ ละพระพชิ ยั รําชรถ เชิญผอบพระสรีรังคําร ดังเห็นได้ในคาให้การขุนหลวงวัดประดู่ทรงธรรม ท่ีกล่ําวถึงกระบวนเชิญ พระโกศพระบรมศพสมเด็จพระเจ้ําบรมโกศและสมเด็จพระพันวัสสําว่ํา “แล้วจึงเชิญพระมหาพิชัย ราชรถท้ังสองเข้ามาเทียบแล้ว จ่ึงเชิญพระโกฏิทองทั้งสองน้ันขึ้นสู่พระราชรถทั้งสอง แล้วจ่ึงเทียม ด้วยม้า ๔ คู่ ม้าน้ันผูกประกอบรูปราชสีห์กรวมตัวม้าลงให้งาม แล้วจึ่งมีนายสารถีขับรถ แต่งตัว อย่างเทวดาข้างละ ๔ คน” (คาให้การขุนหลวงประดู่ทรงธรรมฯ ๒๕๕๕: ๙๒) นอกจํากนี้ สัตว์เทียม รําชรถในภําพสพี ระมหําพชิ ยั รําชรถกฤษฎําธํารทเี่ ชญิ พระบรมศพพระเพทรําชํา ยงั วําดเปน็ มํา้ แทนท่ี จะเป็นรําชสีห์ ดังนั้น จึงเป็นไปได้ท่ีกระบวนรําชรถในสมัยอยุธยําจะเทียมด้วยม้ําที่แต่งกํายเป็น รําชสีห์ และเป็นหลักฐํานท่ีช่วยสนับสนุนว่ําภําพลํายเส้นงํานพระเมรุสมเด็จพระเพทรําชําวําดข้ึน จํากพ้ืนฐํานข้อมูลที่มีอยู่จริงแม้จะวําดข้ึนในลักษณะของจิตรกรรมอุดมคติแบบไทยประเพณีก็ตําม
รําชสหี ด์ งั กลํา่ วอําจหมํายถงึ พําหนะของ “พระยม” ตํามคตแิ บบไทย เปน็ ตน้ วํา่ ตรําประจํา ตําแหน่งพระยํายมรําช รําชสีห์เทียมรําชรถในกระบวนเชิญพระโกศพระบรมศพ พระบรมอัฐิ และ พระสรีรังคํารจึงเปรียบได้กับพําหนะของพระยมท่ีทําหน้ําที่เชิญดวงพระวิญญําณไปยังสัมปรํายภพ แมว้ ํา่ เทพเจํา้ แหง่ ควํามตํายผเู้ ปน็ ใหญแ่ หง่ ยมโลก ตํามคตอิ นิ เดยี และกมั พชู ําพระยมจะทรง “กระบอื ” เป็นพําหนะก็ตําม
พระพิชัยรําชรถอ่ํานหนังสือ พระพิชัยรําชรถปรํายข้ําวตอก พระพิชัยรําชรถโยง
๒. พระมหาพชิ ยั ราชรถกฤษฎาธาร ใตภ้ ําพมอี กั ษรโรมนั ภําษําดตั ชเ์ ขยี นกํา กบั ในทํา นอง วํา่ เปน็ รําชรถของกษตั รยิ ์ พระพชิ ยั รําชรถนม้ี ขี นําดใหญก่ วํา่ รําชรถทงั้ ๓ คนั ทํา ใหม้ ี ๔ ลอ้ ลอ้ ทงั้ หมด มแี ปรกเปน็ รปู นําคสํามเศยี ร ภํายในบษุ บกเปน็ ทปี่ ระดษิ ฐํานพระโกศพระบรมศพสมเดจ็ พระเพทรําชํา ฐํานพระโกศเป็นบัวเหล่ียม องค์พระโกศเป็นลํายบัวกลีบขนุนหุ้มซ้อนสลับกัน ๖ ชั้นโดยรอบ ฝําพระโกศเป็นยอดมณฑปเชิงกลอน ๓ ชั้น ส่วนพื้นภํายในบุษบกของพระมหําพิชัยรําชรถ กฤษฎําธํารในภําพสลี งสแี ดงตดั กบั สขี องพระโกศพระบรมศพทล่ี งสปี ดิ ทองเหลอื งอรํา่ ม ฐํานพระโกศ ถูกบดบังด้วยแพงพนักลูกกรง องค์พระโกศเป็นลํายบัวกลีบขนุนซ้อนสลับกัน ๔ ชั้น ฝําพระโกศ เป็นทรงปริก
เสด็จสู่แดนสรวง
๒๗๒ ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ