Page 285 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 285

ธรรมเนียมสร้างวัดบนที่ถวายพระเพลิงพระบรมศพ ในสมัยอยุธยา เร่ืองจริงหรือเร่ืองแต่ง?๑
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประภัสสร์ ชูวิเชียร
ภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร
4๑
ในเอกสํารประเภทพระรําชพงศําวดํารและคํา ใหก้ ํารทบี่ อกเลํา่ เรอื่ งรําวของพระมหํากษตั รยิ ์ และเจ้ํานํายในสมัยอยุธยําน้ัน ได้กล่ําวถึงเหตุกํารณ์ที่มีรูปแบบคล้ํายคลึงกันอย่ํางหนึ่ง คือกํารสร้ํางวัดวําอํารํามบนพื้นที่ ที่เคยเป็นสถํานท่ีถวํายพระเพลิงพระบรมศพหรือพระศพ ของเจ้ํานําย ซ่ึงปกติมักถูกกล่ําวอย่ํางรวบรัดเป็นเร่ืองเดียวกันกับกํารถวํายพระเพลิงพระบรมศพ/ พระศพ
อย่ํางไรก็ตําม ถึงแม้ว่ําจะปรํากฏข้อมูลข้ํางต้นอยู่ก็ตําม แต่ยังไม่ได้มีกํารศึกษําวิเครําะห์ หลักฐํานทํางโบรําณคดีและศิลปกรรม ซึ่งเป็นข้อมูลเชิงประจักษ์สํามํารถยืนยันว่ําธรรมเนียม ดังกล่ําวนั้นมีขึ้นจริงหรือไม่ สภําวะทํางด้ํานองค์ควํามรู้ทํางประวัติศําสตร์ในปัจจุบันส่วนใหญ่ จึงโน้มเอียงไปในทํางที่เช่ือถือข้อควํามจํากเอกสํารมํากกว่ําโดยไม่ได้พิจํารณําตรวจสอบจําก หลักฐํานทํางโบรําณคดีและศิลปกรรมมํากเท่ําท่ีควร
ดังนั้น ข้อเขียนนี้มีจุดประสงค์ที่จะรวบรวมข้อมูลที่เกิดจํากเนื้อหําในเอกสํารดังกล่ําว เพื่อตรวจสอบกับหลักฐํานทํางโบรําณคดีและศิลปกรรมเพื่ออธิบํายถึงควํามเป็นไปได้ในเรื่อง ของธรรมเนียมเช่นน้ีของกษัตริย์ในสมัยอยุธยํา และสร้ํางกรอบควํามเข้ําใจบํางประกํารเก่ียวกับคติ เร่ืองกํารถวํายเกียรติยศแก่ผู้สร้ํางศําสนสถํานตํามควํามคิดทํางพุทธศําสนําอันมําหลอมรวมกับ กํารใช้พื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ของสังคมด้ังเดิมในดินแดนไทยและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ซึ่งตกทอดลงมํา ในรัฐลุ่มน้ําเจ้ําพระยําตอนล่ํางก่อนจะลดควํามสําคัญลง
๑ ผู้เขียนขอขอบพระคุณ อ.พิเศษ เจียจันทร์พงษ์ ผู้ทรงคุณวุฒิ กรมศิลปํากร ซึ่งได้ให้คําแนะนําเกี่ยวกับเนื้อหําและ วิธีคิดสําคัญเกี่ยวกับข้อมูลทํางโบรําณคดีของกํารสร้ํางศําสนสถํานบนพ้ืนที่ปลงศพดั้งเดิมที่ถูกกล่ําวถึงในบทควํามนี้
บทนา
ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ ๒๘3
เสด็จสู่แดนสรวง


































































































   283   284   285   286   287