Page 286 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 286

สร้างวัดบนสถานที่ถวายพระเพลิง: เนื้อความจากเอกสาร
ศําสนสถํานสมัยอยุธยําที่ได้รับกํารระบุในเอกสํารว่ําถูกสร้ํางขึ้นบนพื้นที่ที่มีกิจกรรมกําร ปลงศพมําก่อน มีท้ังส้ิน ๖ แห่ง เรียงลําดับตํามเหตุกํารณ์ ดังนี้
๑. วัดป่าแก้ว ปรํากฏในพงศําวดํารที่กล่ําวถึงสมเด็จพระรํามําธิบดีที่ ๑ ว่ําเมื่อ พ.ศ.๑๙๐๖ โปรดใหข้ ดุ ศพเจํา้ แกว้ เจํา้ ไททตี่ ํายเพรําะโรคระบําดขนึ้ เพอื่ เผํา ตรงทเี่ ผํานนั้ ตอ่ มําสถําปนําอํารํามชอ่ื วดั ปํา่ แกว้ (พระราชพงศาวดารกรงุ ศรอี ยธุ ยาฯ ๒๕๐๗: ๗) โดยปจั จบุ นั สํามํารถสบื สวนกนั ไดแ้ ลว้ วํา่ วัดป่ําแก้วนี้ควรจะตรงกันกับวัดท่ีสมัยต่อมําเรียกว่ําวัดเจ้ําพระยําไทย หรือในปัจจุบันรู้จักกันในชื่อ วัดใหญ่ชัยมงคลนั่นเอง (พิเศษ เจียจันทร์พงษ์ ๒๕๕๓: ๕๘) (ภําพที่ ๑)
๒.วดั พระราม(ภําพที่๒)ตงั้ อยใู่จกลํางกรงุ ศรอี ยธุ ยํารมิ หนองโสนหรอื บงึ พระรํามในพงศําวดําร กรงุ ศรอี ยธุ ยําทผ่ี ํา่ นกํารชํา ระในชนั้ หลงั ไดก้ ลํา่ ววํา่ สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนําถ (พ.ศ.๑๙๙๑-๒๐๓๑) ทรงสรํา้ งขน้ึ บนพน้ื ทถี่ วํายพระเพลงิ พระบรมศพของสมเดจ็ พระรํามําธบิ ดอี ทู่ อง (พระราชพงศาวดาร กรุงศรีอยุธยาฯ ๒๕๐๗: ๑๓) ทว่ําอําจเป็นไปได้ว่ําวัดแห่งนี้จะถูกสร้ํางโดยโอรสของพระเจ้ําอู่ทอง คือสมเด็จพระรําเมศวร เนื่องจํากเป็นช่วงระยะเหตุกํารณ์ที่ใกล้เคียงกัน โดยพระราชพงศาวดาร ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ ซึ่งมีควํามแม่นยําได้ระบุไว้ว่ําแรกสร้ํางวัดแห่งน้ีในปี พ.ศ.๑๙๑๒ (พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ ๒๕๑๕: ๔๔๓) และในอดีตผู้ชําระ พงศําวดํารอําจเกดิ กํารจดเหตกุ ํารณค์ ลําดเคลอื่ นกไ็ ด้ เพรําะพระนํามของสมเดจ็ พระบรมไตรโลกนําถ ก่อนขึ้นครองรําชสมบัตินั้นก็ทรงนํามว่ํา พระรําเมศวร เช่นเดียวกัน
๓. วดั ราชบรู ณะ (ภําพที่ ๓) สถําปนําในปี พ.ศ. ๑๙๖๗ หลงั จํากเหตกุ ํารณท์ เี่ จํา้ อํา้ ยพระยํา และเจ้ํายี่พระยําชนช้ํางแย่งรําชสมบัติกันเม่ือสมเด็จพระนครินทรรําชําผู้เป็นพระบิดําสวรรคต ผลคือท้ังคู่ส้ินพระชนม์ด้วยกัน เจ้ําสํามพระยําผู้เป็นอนุชําจึงได้ครองรําชย์ โดยพงศําวดํารที่ชําระ ในสมยั หลงั กลํา่ ววํา่ ทรงสรํา้ งวดั แหง่ นข้ี นึ้ บนทถ่ี วํายพระเพลงิ พระศพของเจํา้ อํา้ ยเจํา้ ย่ี รวมทง้ั ยงั ได้ สร้ํางเจดีย์สององค์ตรงที่ทรงชนช้ํางกันท่ีเชิงสะพํานป่ําถ่ําน (พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ ๒๕๑๕: ๑๐-๑๑) (ภําพท่ี ๔)
๔. วดั สวนหลวงสบสวรรค์ พงศําวดํารระบวุ ํา่ สรํา้ งขนึ้ ตรงทถี่ วํายพระเพลงิ พระสรุ โิ ยทยั มเหสใี นสมเดจ็ พระมหําจกั รพรรดเิ มอื่ ครําวสงครํามกบั หงสําวดใี นปี พ.ศ.๒๐๙๐ (พระราชพงศาวดาร กรงุ ศรอี ยธุ ยาฯ ๒๕๐๗: ๖๐) จํากกํารวนิ จิ ฉยั ของสมเดจ็ ฯ กรมพระยําดํา รงรําชํานภุ ําพทรงเชอื่ กนั วํา่ หมํายถึงพ้ืนท่ีท่ีตั้งเจดีย์ศรีสุริโยทัย (ภําพที่ ๕) ฝั่งตะวันออกของตัวเมืองอยุธยําริมแม่น้ําเจ้ําพระยํา ซ่ึงคงเคยเป็นเขตสวนหลวงติดกับวัดสบสวรรค์ท่ีมีมําก่อน เมื่อสร้ํางวัดขึ้นจึงเรียกรวมกันว่ํา วดั สวนหลวงสบสวรรค์ (พระราชพงศาวดารฉบบั พระราชหตั ถเลขา ๒๕๔๘: ๒๗๐) นอกจํากนขี้ อ้ มลู จํากคาให้การชาวกรุงเก่ายังให้รํายละเอียดต่ํางกันเล็กน้อย โดยกล่ําวเพียงว่ํา “พระบรมดิลก” พระรําชธดิ ําของพระมหําจกั รวรรดเิ พยี งพระองคเ์ ดยี วทสี่ นิ้ พระชนมจ์ ํากกํารชนชํา้ งกบั ขํา้ ศกึ ตรงที่ สร้ํางพระเมรุถวํายพระเพลิงนั้นให้ก่อเป็นเจดีย์บรรจุพระอัฐิ มีนํามว่ํา “เนินเจ้ํา” (คาให้การชาวกรุง เก่าฯ ๒๕๑๕: ๘๑)
เสด็จสู่แดนสรวง
๒๘4 ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ


































































































   284   285   286   287   288