Page 69 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 69
ภําพที่ ๖ พระโกศทองใหญ่ที่ตกแต่ง ภําพที่ ๗ พระท่ีน่ังดุสิตมหําปรําสําท พระบรมมหํารําชวัง อย่ํางเต็มที่เพื่อถวํายพระรําชอิสริยยศ
อย่ํางสูงสุด
ใหญ่รองรับพระบุพโพ (น้ําเหลือง) (จดหมายเหตุรัชกาลท่ี ๓ เล่ม ๑ ๒๕๓๐: ๑๘) ซ่ึงจะมีกํารถวําย พระเพลงิ พระบพุ โพกอ่ นทจ่ี ะถวํายพระเพลงิ พระบรมศพ ซงึ่ กํารถวํายพระเพลงิ พระบพุ โพจะจดั กนั เปน็ กํารภํายใน อนงึ่ ในครําวพระรําชพธิ พี ระบรมศพรชั กําลที่ ๕ นน้ั ไดง้ ดกํารถวํายพระเพลงิ พระบพุ โพ แต่ได้เชิญพระบุพโพไปฝังพร้อมกับพระอังคํารที่ใต้ฐํานพระพุทธชินรําช พระพุทธรูปประธํานใน พระอุโบสถวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนํารําม (พระบําทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ําเจ้ําอยู่หัว ๒๕๕๗: ๒๑๙) แต่เมื่อคร้ังพระรําชพิธีพระบรมศพรัชกําลที่ ๘ เมื่อ พ.ศ.๒๔๙๓ ได้มีกํารถวํายพระเพลิงพระบุพโพ โดยมีกํารปลูกสร้ํางพระเมรุพระบุพโพขึ้นที่วัดมหําธําตุ (นนทพร อยู่มั่งมี ๒๕๕๙: ๒๗๓-๒๗๘)
สํา หรบั กํารประดษิ ฐํานพระโกศทองใหญ่ ณ พระทนี่ งั่ ดสุ ติ มหําปรําสําท (ภําพที่ ๗) ในกําร พระรําชพิธีพระบรมศพพระบําทสมเด็จพระปรมินทรมหําภูมิพลอดุลยเดช มีขั้นตอนเร่ิมจํากกํารวัด ระยะท้ิงสํายด่ิงลงมําจํากดําวเพดํานหมู่กลําง ห้องท่ีสองของมุขตะวันตก ลงมําถึงพื้น แล้วจึงปูพรม สีแดงเต็มพื้นที่มุขพระที่นั่งดุสิตมหําปรําสําทด้ํานทิศตะวันตก แล้วเชิญพระแท่นทองทรํายขนําด ลดหลั่นกันจํานวน ๒ ชั้น แล้วเชิญพระแท่นสุวรรณเบญจดลที่มีขนําดลดหลั่นกันจํานวน ๓ ช้ัน ทอดเหนือพระแท่นทองทรําย๒ โดยให้จุดศูนย์กลํางของพระแท่นตรงกับสํายดิ่ง แล้วจึงเชิญฐํานบัว รองรับพระบรมโกศต้ังรอไว้เหนือพระแท่นสุวรรณเบญจดล จํากน้ันเชิญพระนพปฎลมหําเศวตฉัตร ขึ้นแขวนเหนือพระแท่น โดยใช้ลวดร้อยลงมําจํากเพดํานตรงจุดทิ้งสํายดิ่งผูกกับยอดพระนพปฎล
๒ พระแทน่ ทต่ี งั้ เปน็ ชน้ั ซอ้ นเพอื่ ประดษิ ฐํานพระโกศทองใหญใ่ นพระรําชพธิ พี ระศพพระบรมวงศํานวุ งศใ์ นสมยั รชั กําล ท่ี ๙ มที เี่ รยี กวํา่ พระแทน่ ทองทรําย พระแทน่ แวน่ ฟํา้ ทอง พระแทน่ เบญจํา อยํา่ งไรกต็ ําม ในอดตี แมเ้ ปน็ พระแทน่ ที่ ประดษิ ฐํานพระบรมศพพระมหํากษตั รยิ ก์ ม็ ที เี่ รยี กวํา่ พระแทน่ แวน่ ฟํา้ เชน่ ในพระรําชพธิ พี ระบรมศพพระบําทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหล้ํานภําลัย (จดหมายเหตุรัชกาลที่ ๓ เล่ม ๑: ๒๕๓๐)
๒
ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ ๖๗
เสด็จสู่แดนสรวง