Page 68 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 68

โดยใชห้ มอนหนนุ โดยรอบกนั เอยี ง เสรจ็ แลว้ สมเดจ็ พระบรมโอรสําธริ ําชฯ ไดถ้ วํายพระชฎํามหํากฐนิ เป็นลําดับสุดท้ํายตํามโบรําณรําชประเพณี (จดหมายเหตุรัชกาลท่ี ๓ เล่ม ๑ ๒๕๓๐: ๑๖-๑๗)
เมื่อถวํายสุกําพระบรมศพในพระลองแล้วเสร็จจะประกอบเข้ํากับพระโกศทองใหญ่ซ่ึงได้ ถวํายพระบรมศพพระมหํากษัตริย์ในสมัยรัตนโกสินทร์เกือบทุกรัชกําล เว้นแต่ในครําวพระบําท สมเด็จพระปกเกล้ําเจ้ําอยู่หัวท่ีเสด็จสวรรคต ณ ประเทศอังกฤษ และในงํานพระบรมศพพระบําท สมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหําภมู พิ ลอดลุ ยเดชทใี่ ชพ้ ระหบี ทรงพระบรมศพดงั ทไี่ ดก้ ลํา่ วถงึ แลว้ แตก่ ระนนั้ กไ็ ดม้ กี ํารประดษิ ฐํานพระโกศทองใหญเ่ พอ่ื ถวํายพระเกยี รตยิ ศอยํา่ งสงู สดุ ตํามโบรําณรําชประเพณี
พระโกศทองใหญ่: การประดิษฐานพระบรมศพ ณ พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท
พระโกศทองใหญ่เป็นพระโกศสําหรับทรงพระบรมศพพระมหํากษัตริย์และพระบรมวงศ์ ชนั้ สงู เชน่ สมเดจ็ เจํา้ ฟํา้ ในกํารพระรําชพธิ พี ระบรมศพพระมหํากษตั รยิ น์ น้ั มธี รรมเนยี มกํารประดบั ตกแต่งพระโกศทองใหญ่โดยประดับด้วยดอกไม้เพชรพุ่มข้ําวบิณฑ์ที่ยอดพระโกศ ที่ชั้นกระจังฝํา พระโกศประดบั ดอกไมเ้ พชรทเี่ รยี กวํา่ “ดอกไมไ้ หว” ปํากพระโกศโดยรอบประดบั เฟอ่ื งเพชร มพี เู่ งนิ หอ้ ยเปน็ ระยะทกุ มมุ และทเี่ อวพระโกศประดบั ดอกไมเ้ พชรโดยรอบ เรยี กวํา่ “ดอกไมเ้ อว” เพอื่ ถวําย พระรําชอิสริยยศอย่ํางสูงสุด (ภําพที่๖) แต่หํากใช้พระโกศทองใหญ่ทรงพระศพพระบรมวงศ์ก็จะ ลดทอนเครื่องประดับพระโกศลงตํามพระรําชอิสริยยศ
ตํามประวัติกล่ําวว่ําพระโกศทองใหญ่สร้ํางข้ึนในรัชสมัยพระบําทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ํา จฬุําโลกเมอื่ พ.ศ.๒๓๕๑เพอื่เตรยีมสําหรบักํารพระบรมศพของพระองคเ์อง(พระเจํา้บรมวงศเ์ธอ กรมพระสมมตอมรพนั ธ,์ สมเดจ็ ฯ กรมพระยําดํารงรําชํานุภําพ และสมเด็จฯ เจ้ําฟ้ํากรมพระนริศรํา นวุ ดั ตวิ งศ์ ๒๕๓๙) และไดส้ รํา้ งเพมิ่ เตมิ ขน้ึ ในสมยั รชั กําลที่ ๕ และรชั กําลท่ี ๙ เนอ่ื งจํากองคเ์ ดมิ ชํา รดุ เสยี หํายมํากเพรําะผํา่ นกํารใชง้ ํานมําเปน็ เวลํานําน (ศุภฤกษ์ แก้วมณีชัย ๒๕๕๑: ๒๑๘)
ในครําวพระรําชพิธีพระบรมศพพระบําทสมเด็จพระปรมินทรมหําภูมิพลอดุลยเดชนั้น ได้ตั้งประดิษฐํานพระโกศทองใหญ่ในรัชกําลท่ี ๕ เพื่อประกอบพระรําชอิสริยยศ มีลักษณะเป็น พระโกศทรงแปดเหลยี่ ม ปํากผําย มยี อดทรงมงกฎุ ทํา ดว้ ยไมจ้ ํา หลกั ลําย หมุ้ ทองคํา ทงั้ องค์ พระโกศ ทองใหญอ่ งคน์ ้ี รชั กําลที่ ๕ โปรดเกลํา้ ใหพ้ ระวรวงศเ์ ธอ กรมหมนื่ ปรําบปรปกั ษ์ เสนําบดกี ระทรวงวงั และผบู้ ญั ชํากํารกรมชํา่ งสบิ หมู่ สรํา้ งขนึ้ เมอ่ื พ.ศ.๒๔๔๓ เดมิ เรยี กวํา่ “พระโกศทองรองทรง” โดยมี พระรําชประสงค์ให้ใช้งํานเช่นเดียวกับพระโกศทองน้อยเพื่อผลัดกับพระโกศทองใหญ่เมื่อเข้ําริ้ว กระบวนแหไ่ ปยงั พระเมรมุ ําศ ณ ทอ้ งสนํามหลวง สมเดจ็ ฯ กรมพระยําดํา รงรําชํานภุ ําพ ทรงวนิ จิ ฉยั วํา่ พระโกศองค์นี้มีศักดิ์เสมอพระโกศทองใหญ่ท่ีสร้ํางขึ้นเมื่อสมัยรัชกําลที่ ๑ เพรําะมีวัตถุประสงค์ กํารใชง้ ํานเชน่ เดยี วกนั ภํายหลงั จงึ เรยี กพระโกศนว้ี ํา่ “พระโกศทองใหญ”่ ดว้ ย (สํา นกั รําชเลขําธกิ ําร ๒๕๕๙: ๕)
พระโกศทองใหญ่ที่ทรงพระบรมศพพระมหํากษัตริย์จะประดิษฐํานภํายในพระที่นั่งดุสิต มหําปรําสําท ในพระบรมมหํารําชวัง โดยพบว่ําแต่เดิมเม่ือครั้งพระรําชพิธีพระบรมศพพระบําท สมเด็จพระพุทธเลิศหล้ํานภําลัย ได้เคยมีกํารเจําะพ้ืนพระมหําปรําสําทเพื่อเอําใบบัวดีบุกรองใต้พื้น พระโกศซึ่งมีท่อทําด้วยไม้ไผ่ทะลวงข้อต่อไปยังใต้พื้นพระมหําปรําสําท ซึ่งมีพระถ้ําหรือโอ่งขนําด
เสด็จสู่แดนสรวง
๖๖ ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ


































































































   66   67   68   69   70