Page 77 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 77
ภําพที่ ๑๗ พระวิมํานที่ประดิษฐํานพระโกศพระบรมอัฐิและพระอัฐิ หอพระธําตุมณเฑียร (ที่มํา: แน่งน้อย ศักดิ์ศรี และคณะ ๒๕๓๑)
ตอ่ มําในสมยั รชั กําลที่ ๕ ไดโ้ ปรดเกลํา้ ฯ ใหส้ รํา้ งพระทนี่ งั่ จกั รมี หําปรําสําทขน้ึ โดยมรี ปู แบบ เป็นอําคํารแบบยุโรป แต่มียอดทรงปรําสําทอย่ํางไทยประเพณีเรียงกัน ๓ องค์ โดยยอดพระมหํา ปรําสําทองค์กลํางประดิษฐํานพระโกศพระบรมอัฐิพระบรมรําชบุพกํารีคือพระบรมอัฐิของรัชกําล ที่ ๔ และสมเด็จพระเทพศิรินทรําบรมรําชินี ต่อมํายังได้เป็นท่ีประดิษฐํานพระโกศพระบรมอัฐิของ รชั กําลที่ ๕ ถงึ รชั กําลท่ี ๘ ดว้ ย ในขณะทย่ี อดพระมหําปรําสําทองคต์ ะวนั ตกเปน็ ทปี่ ระดษิ ฐํานพระอฐั ิ พระบรมวงศํานวุ งศท์ ใี่ กลช้ ดิ พระมหํากษตั รยิ ส์ ว่ นยอดทศิ ตะวนั ออกใชป้ ระดษิ ฐํานพระพทุ ธปฏมิ ํากร (แสงสูรย์ ลดําวัลย์ ๒๕๒๙: ๒๖)
นอกจํากน้ียังมีรําชประเพณีในกํารบรรจุพระบรมอัฐิหรือพระอังคํารที่พระพุทธอําสน์ของ พระพุทธรูปประธํานในพระอุโบสถของพระอํารํามที่พระมหํากษัตริย์แต่ละรัชกําลทรงพระกรุณํา โปรดเกล้ําให้สร้ํางข้ึน หรือที่ทรงมีพระรําชอนุสรณ์สัมพันธ์กับพระอํารํามนั้น โดยรําชประเพณี ดังกล่ําวเกิดขึ้นในสมัยรัชกําลท่ี ๔ ที่โปรดเกล้ําให้ประดิษฐํานพระบรมอัฐิบํางส่วนของสมเด็จ พระบูรพมหํากษัตริย์รัชกําลท่ี ๑-๓ ท่ีพระพุทธอําสน์ของพระพุทธรูปประธํานในพระอํารํามสําคัญ เนอ่ื งในรชั กําลนนั้ ๆ ไดแ้ ก่ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลํารําม วดั อรณุ รําชวรํารําม และวดั รําชโอรสํารําม ตํามลําดับ และยังได้ประดิษฐํานพระบรมรําชสัญลักษณ์ประจําแต่ละรัชกําลไว้ท่ีผ้ําทิพย์หน้ํา พระพุทธอําสน์ ทําให้ถือกันว่ําวัดดังกล่ําวเป็นวัดประจํารัชกําล ในส่วนพระองค์เองนั้นได้มีรับส่ัง ไวว้ ํา่ ใหบ้ รรจพุ ระบรมอฐั ขิ องพระองคเ์ องทว่ี ดั รําชประดษิ ฐสถติ มหําสมี ํารํามอยํา่ งเดยี วกนั (สมเดจ็ ฯ กรมพระยําดํารงรําชํานุภําพ ๒๕๔๔: ๕๖)
ต่อมําจึงได้มีกํารบรรจุพระบรมอัฐิหรือพระอังคํารแล้วแต่กรณีของรัชกําลอื่นๆ ภํายใต้ พระพทุ ธอําสนข์ องพระพทุ ธรปู ประธํานในพระอํารํามหลวงทมี่ คี วํามสํา คญั เกยี่ วขอ้ งกบั แตล่ ะรชั กําล ได้แก่ วัดรําชบพิธสถิตมหําสีมํารํามซึ่งบรรจุพระบรมอัฐิรัชกําลที่ ๕ และรัชกําลที่ ๗ วัดบวรนิเวศ
๒
ศิลปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ ๗5
เสด็จสู่แดนสรวง