Page 141 - Tsubomi
P. 141
Chapter 3
ภาคเหนือของประเทศไทย เดิมเป็นที่ต้ังของอาณาจักรล้านนา ที่สถาปนาโดยพญามังราย เมื่อราว พ.ศ. 1835 สถาปนาเมือง หลวงอย่างเป็นทางการใน พ.ศ. 1839 ชื่อ นพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่ ลักษณะภูมิประเทศเป็นเขตภูเขาสลับพ้ืนที่ราบระหว่าง ภูเขาที่มีผู้คนอาศัยอยู่กระจายตัวไปตามพ้ืนที่ต่างๆ
และเช่นเดียวกับพื้นท่ีอื่นๆ ในประเทศไทย ภาคเหนือเป็นอีกหนึ่งดินแดนท่ีมีความหลากหลายทางชาติพันธุ์ ซ่ึงนอกจากชาว ลา้ นนาแลว้ ยงั มกี ลมุ่ ชาตพิ นั ธอ์ุ นื่ ๆ อาศยั อยใู่ นบรเิ วณเดยี วกนั ดว้ ย เชน่ ชาวไทยอง ชาวไทเขนิ ทอ่ี พยพมาจากประเทศเมยี นมา ชาวกะเหร่ียง ชาวม้ง เป็นต้น กลุ่มชาติพันธุ์เหล่านี้มีอัตลักษณ์ของตัวเอง ไม่ว่าจะเป็นภาษาพูด การแต่งกาย ประเพณี และ ลกั ษณะของงานหตั ถกรรมในทอ้ งถนิ่ แตอ่ งคป์ ระกอบทส่ี า คญั กย็ งั มคี วามคลา้ ยคลงึ กนั อยมู่ าก อาทิ สา เนยี งการพดู การขบั รอ้ ง ฟ้อนรา การดารงชีวิตแบบเกษตรกร การนับถือสิ่งศักดิ์สิทธ์ิและวิญญาณของบรรพบุรุษ ความเลื่อมใสในพระพุทธศาสนาแบบ เถรวาท การแสดงออกของความรู้สึกนึกคิดและอารมณ์โดยผ่านภาษา วรรณกรรม ดนตรี และงานฝีมือ
นอกจากน้ี ชมุ ชนตา่ งๆ ทางภาคเหนอื ยงั มกี ารดา เนนิ ชวี ติ ทพี่ ง่ึ พาธรรมชาติ โดยการประยกุ ตว์ สั ดจุ ากธรรมชาตริ อบตวั สรา้ งสรรค์ เป็นเคร่ืองมือเครื่องใช้ในชีวิตประจาวัน น่ีก็คือจุดเร่ิมต้นของการสร้างสรรค์งานหัตถกรรมที่มีความเรียบง่าย สวยงาม บ่งบอก ตัวตน ท่ีนักท่องเท่ียวให้การยอมรับและนิยมซื้อเป็นของท่ีระลึก
ในบท “ราก” นี้ จะพาคุณไปรู้จักกับรากทางวัฒนธรรมที่ก่อเกิดผลงานหัตถกรรม นาไปสู่การผลิใบของผลิตภัณฑ์ที่สร้างสรรค์ โดยคนรุ่นใหม่
ราก
ผ ลิ 137