Page 17 - Tsubomi
P. 17

  Chapter 1
แม้ว่างานหัตถกรรมท้องถิ่นของไทยจะได้ชื่อว่ามีความสวยงามแต่เรียบง่ายเป็นท่ีนิยมของนักท่องเท่ียวชาวต่างชาติ ส่วนช่างฝีมือท้องถ่ินก็มีจุดแข็งอยู่ที่ทักษะการผลิตและการประยุกต์ใช้ส่ิงท่ีมีอยู่รอบตัวมาสร้างเป็นผลงานหัตถกรรม ทว่าสิ่งท่ี ตามมาคือการผลิตชิ้นงานรูปแบบเดิมๆ เพ่ือให้ทันต่อความต้องการของนักท่องเท่ียว ทาให้ขาดการสร้างสรรค์ผลงานรูปแบบ ใหม่ๆ ที่มีรูปลักษณ์ร่วมสมัยสามารถส่งออกไปยังในตลาดโลกได้อย่างกว้างขวางกว่าเดิม นอกจากนี้ ด้วยยุคสมัย ทค่ี นเดนิ ทางเขา้ สเู่ มอื งเพอื่ การศกึ ษาระดบั สงู และการทา งานในเมอื งทไี่ ดค้ า่ ตอบแทนสงู กวา่ ชา่ งฝมี อื ทอ้ งถน่ิ ในปจั จบุ นั จงึ เหลอื เพยี งผสู้ งู อายุ ไรผ้ สู้ บื ทอดและขาดแคลนความคดิ สรา้ งสรรคจ์ ากคนรนุ่ ใหม่ ทา ใหง้ านหตั ถกรรมทอ้ งถนิ่ มแี นวโนม้ ทจี่ ะถงึ ทางตน้ ด้วยเหตุน้ี สมาคมวัฒนหัตถศิลป์ล้านนา ได้ร่วมโครงการแปซิฟิกริม (Paci cRim) ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่าง Tama Art University, Tokyo ประเทศญป่ี นุ่ และ Art Center College of Design, California สหรฐั อเมรกิ า นา พาคนรนุ่ ใหมจ่ ากทงั้ สอง มหาวทิ ยาลยั และนกั ศกึ ษาไทยจากมหาวทิ ยาลยั ทว่ั ประเทศ ลงพนื้ ทศี่ กึ ษาดงู านหตั ถกรรมทอ้ งถนิ่ ใน 4 จงั หวดั ไดแ้ ก่ เชยี งใหม่ ลาพูน ลาปาง และพะเยา เป็นเวลา 2 สัปดาห์ เพ่ือสารวจรากฐานทางวัฒนธรรมของท้องถ่ินอย่างใกล้ชิด ท้ังการเรียนรู้ประวัติ ความเปน็ มาของชมุ ชน สมั ผสั วถิ ชี วี ติ ทห่ี ลอ่ หลอมใหเ้ กดิ งานหตั ถกรรมประจา ถน่ิ ตา่ งๆ กอ่ นทเ่ี หลา่ นกั ศกึ ษาจะนา ประสบการณแ์ ละ แรงบันดาลใจที่ได้รับจากการศึกษาดูงานมาประยุกต์ใช้ในการสร้างผลงานการออกแบบผลิตภัณฑ์ ภายใต้แนวคิด “Future Craft” ซึ่งนักศึกษาสามารถตีความแนวคิดออกมาได้อย่างอิสระ แต่มีเป้าหมายเดียวกันคือการสร้างความย่ังยืนด้านรายได้ และชีวิตความเป็นอยู่ของช่างฝีมือในท้องถิ่น นี่คือผลงานจากประสบการณ์และแรงบันดาลใจจากรากวัฒนธรรมใน ท้องถ่ินของประเทศไทย
ผลิ
   ผ ลิ 13































































































   15   16   17   18   19