Page 27 - Tsubomi
P. 27

  เรําหวังจะสร้ํางโอกําสใหม่ๆ ให้บ้ํานเหมืองกุง ในกํารใช้ควํามคิดสร้ํางสรรค์ เพื่อจินตนํากํารถึงควํามเป็นไปได้ในกํารสร้ํางผลงําน
จากการสารวจชุมชนเคร่ืองปั้นดินเผาที่บ้านเหมืองกุง จ.เชียงใหม่ ลอรีและฮิมาวาริมีความประทับใจในวิถีชีวิตของ ชุมชน โดยเฉพาะการวาง “น้าต้น” หรือคนโทใส่น้าไว้หน้าบ้าน เพื่อให้คนที่เดินผ่านไปมาได้ดื่ม แสดงถึงความมี น้าใจของคนในชุมชน เนื่องจากในปัจจุบัน วัฒนธรรมเหล่านี้กาลังจะเลือนหายไปพร้อมกับการผลิตน้าต้น ท้ังสอง จึงต้องการดึงผลิตภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผากลับมาประยุกต์ใหม่และสร้างมูลค่า ประชาสัมพันธ์ให้นักท่องเที่ยว ได้รู้จัก เพื่อสร้างการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจให้แก่ชุมชน โดยออกแบบและสร้างผลิตภัณฑ์ทั้งหมด 3 ชนิด ได้แก่ Muang Kung, Tor และ Prang
1. Muang Kung หรือ “เหมืองกุง” กระเบ้ืองเคลือบและกระเบื้อง 3D ที่ประยุกต์รูปแบบท้องถิ่นให้เข้ากับการ ตกแต่งภายในแบบร่วมสมัย เพื่อสร้างมูลค่าให้บ้านเหมืองกุง ประกอบด้วย 3 คอลเล็กชัน ซึ่งความท้าทายอยู่ที่การใช้ วสั ดทุ มี่ เี ฉพาะทบี่ า้ นเหมอื งกงุ เทา่ นนั้ และวสั ดทุ งั้ 8 อยา่ งจากบา้ นเหมอื งกงุ สามารถทา กระเบอ้ื งเคลอื บไดถ้ งึ 30 ชนิ้ 2. Tor หรือชื่อภาษาไทยคือ “ต่อ” กระเบื้องรูปทรงเรียบง่ายท่ีมีลวดลายคล้ายลายไม้ แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่าง บา้ นเหมอื งกงุ กบั หมบู่ า้ นทท่ี า งานไม้ โดยรวมเอาทกั ษะของทงั้ สองชมุ ชนเขา้ ไวด้ ว้ ยกนั และสรา้ งเปน็ ผลติ ภณั ฑใ์ หมข่ นึ้ มา เพื่อเป็นทั้งของที่ระลึกและเคร่ืองประดับบ้านหรือร้านอาหารได้
3. Prang กระเบื้องดินเผาท่ีใช้คุณสมบัติการดูดซึมน้าได้เร็วมาใช้ประกอบการออกแบบ โดยนักศึกษาได้วาดลวดลาย ลงบนกระเบื้อง และทดสอบโดยการฉีดน้า ลวดลายที่วาดไว้จะปรากฏขึ้นอย่างน่าอัศจรรย์ สามารถนาไปประดับใน ห้องอาบน้า สปา หรือรอบสระว่ายน้าได้
     ผ ลิ 23






























































































   25   26   27   28   29