Page 67 - Tsubomi
P. 67

  เรําเห็นควํามผูกพันและกํารพูดคุยที่เกิดขึ้นเมื่อคนไทยน่ังล้อมวงกัน ซ่ึงวัฒนธรรม กํารนั่งล้อมวงกันบนพื้นนั้นปรํากฏอยู่ทั้งในประเทศไทยและประเทศญี่ปุ่น
ความประทับใจจากวิถีชีวิตของชุมชนล้านนาที่มักจะนั่งล้อมวงทางานจักสาน และพูดคุยกัน ก่อให้เกิดความสัมพันธ์ที่แข็งแกร่งภายในชุมชน เปรียบเสมือน ไม้ไผ่ท่ีนามาสานจนกลายเป็นโครงสร้างที่แข็งแรง เป็นแรงบันดาลใจที่ทาให้ ไคริและมิเชลล์ออกแบบผลิตภัณฑ์เก้าอี้ที่มีชื่อว่า “Close Knit” ผลงานที่ ผสมผสานระหว่างความเป็นท้องถิ่นดั้งเดิมกับลักษณะร่วมสมัย หลังจากทดลองออกแบบเก้าอี้รูปทรงต่างๆ ด้วยแบบจาลอง ก็ได้ข้อสรุปใน การออกแบบโดยการดดั แปลงรปู รา่ งของเกา้ อเ้ี พอื่ ใหร้ องรบั สรรี ะ โดยมตี น้ แบบ จากงอบแบบดงั้ เดมิ ทชี่ าวปกากะญอในชมุ ชนพระบาทหว้ ยตม้ จ.ลา พนู ใชส้ วม ขณะออกไปทา ไรท่ า นา ซงึ่ มลี กั ษณะเปน็ ยอดแหลม ปลายดา้ นหนา้ สนั้ คลมุ ถงึ หน้าผาก ส่วนปลายด้านหลังยาวคลุมไปถึงหลังของผู้สวม และนอกจากจะ เป็นลูกผสมของความดั้งเดิมและความร่วมสมัย “Close Knit” ยังเป็นการ ผสมผสานระหวา่ งวสั ดธุ รรมชาตอิ ยา่ งไมไ้ ผแ่ ละวสั ดจุ ากอตุ สาหกรรมอยา่ งเหลก็ เคลอื บ เชอื่ มกนั อยา่ งประณตี ดว้ ยดา้ ย บดุ ว้ ยเบาะรองนงั่ ทที่ า จากผา้ ฝา้ ยผสม ใยกัญชง ให้ความรู้สึกเป็นธรรมชาติเมื่อสัมผัสกับผิวของผู้ใช้
นอกจากนี้ ในการออกแบบเก้าอี้ ไคริและมิเชลล์ยังคานึงถึงการทางานใน อนาคตของชา่งฝมีอืทอ้งถนิ่โดยการเปดิโอกาสใหช้่างฝมีอืสามารถผสมผสาน วัสดุธรรมชาติที่แตกต่างกันเข้าด้วยกัน และสามารถผลิตเก้าอี้จนกลายเป็น อุตสาหกรรมท่ีทารายได้อย่างยั่งยืนได้ ซ่ึงถือว่านอกจากจะแสดงความผูกพัน อันแข็งแกร่งของชุมชนในท้องถิ่นผ่านงานหัตถกรรมแล้ว ยังแสดงการ “สาน ความสัมพันธ์” ระหว่างความดั้งเดิมกับสมัยใหม่ และงานหัตถกรรมกับงาน อุตสาหกรรมอีกด้วย
     ผ ลิ 63































































































   65   66   67   68   69