Page 97 - Tsubomi
P. 97
เรําได้รับแรงบันดําลใจจํากกํารรับประทํานอําหํารในขันโตกร่วมกับนักศึกษําชําติอื่นๆ แม้ว่ําเรําจะไม่ได้พูดภําษําเดียวกัน แต่เรําสํามํารถรับประทํานอําหํารร่วมกันได้ เรําจึงคิดว่ําอําหํารเป็นภําษําสํากล
นอกจากงานหัตถกรรมแล้ว วัสดุธรรมชาติที่ชาวล้านนาใช้ในชีวิตประจาวันอย่าง ขันโตกไม้ไผ่หรือใบตองห่อขนมยังสามารถสร้างแรงบันดาลใจให้เกิดผลิตภัณฑ์ ใหม่ๆ ได้ด้วย และน่ีคือที่มาของผลิตภัณฑ์ Sum Rap Thai หรือ “สารับไทย” ภาชนะใส่อาหารที่ย่อยสลายได้ จากความประทับใจในวิถีชีวิตของชาวล้านนาท่ีเช่ือมโยงกับธรรมชาติ ใช้วัสดุจาก ธรรมชาติรอบตัวในการสร้างสรรค์สิ่งต่างๆ และเม่ือมีวัสดุท่ีเหลือใช้ก็สามารถทิ้ง ให้ย่อยสลายตามธรรมชาติได้โดยไม่ทาลายสิ่งแวดล้อม บริททานีย์และชุนเหวิน จงึ เลอื กออกแบบผลติ ภณั ฑท์ สี่ ง่ เสรมิ วฒั นธรรมการรบั ประทานอาหารโดยไมส่ รา้ ง ขยะ สามารถย่อยสลายได้ตามธรรมชาติ หรือสามารถนากลับมาใช้ได้ใหม่ น่ันคือ ภาชนะใสอ่ าหารทผ่ี ลติ จากวสั ดธุ รรมชาตอิ ยา่ งผกั ตบชวาและมนั สา ปะหลงั โดยนา วัตถุดิบทั้งสองมาทดลองผ่านกระบวนการทาให้เป็นกระดาษ จากน้ันจึงออกแบบ เป็นรูปทรงต่างๆ ดังนี้
1. Kantok จานใส่อาหารแบบกลมที่มีรูปแบบมาจากขันโตกของภาคเหนือ
2. Kanom กระดาษห่อขนมที่ทาจากกระดาษผักตบชวา มีรูปแบบมาจากห่อ ขนมเทียนของไทย
3. Can จานใส่อาหารรูปสี่เหลี่ยม ทาจากกระดาษผักตบชวา และมีรูปแบบมา จากการห่อขนมเช่นกัน
ผลิตภัณฑ์ทั้ง 3 แบบ บรรจุมาในซองที่มีรูปลักษณ์สนุกสนาน ทันสมัย พร้อมวิธี การใช้ ถอื เปน็ ผลติ ภณั ฑท์ ส่ี รา้ งสรรคอ์ ยา่ งครบวงจร สรา้ งประโยชนใ์ หท้ งั้ ชา่ งฝมี อื ท้องถิ่น ผู้บริโภค และสิ่งแวดล้อม
ผ ลิ 93