Page 112 - (Microsoft Word - 1.\303\322\302\247\322\271\273\303\320\250\323\273\32563 ok17.31\271.)
P. 112

รายงานประจำป  2563 (Annual Report)  | 105



                       กำกับติดตามให คณะกรรมการดำเนินการภายใตกรอบอำนาจกระทำการตามข อบังคับ ระเบียบ และ
                                                                     ิ่

                       กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข องเพื่อปGองกันไมให เกิดข อสังเกตที่เพมขึ้น
                                     ผลจากการเข&าแนะนำส งเสริม  สหกรณ ฯ ที่มีข อสังเกตผู สอบบัญชีได ดำเนินการ
                       แก ไขข อสังเกตแล วเสร็จทุกประเด็น  จำนวน  3  แห ง  ได แก   1. กลุ มเกษตรกรเลี้ยงสัตว กระออม

                       กลุ มเกษตรกรทำนาศรีสุข และกลุ มเกษตรกรทำนาตำบลสำโรงทาบ และมีกลุ มที่ได มีการแก ไขแล ว
                       และอยู ในระหว างติดตาม คือ  กลุ มเกษตรกรเลี้ยงสัตว บ านจังเกา


                          ปZญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานของสหกรณ1/กลุ มเกษตรกร
                            1.  ป>ญหาความเข าใจในระบบสหกรณ  สหกรณ ในพื้นที่ส วนใหญ ผู เป@นสมาชิกหรือทำหน าท ี่
                       คณะกรรมการ ไม สนใจในการที่จะศึกษากฎหมายสหกรณ  ข อบังคับและระเบียบที่ถือปฏิบัติ รวมถง ึ
                                                                                                        ิ
                                                                                          >
                       แนวทางการดำเนินงานต าง ๆ ที่เกี่ยวข องให ถ องแท  ทำให เกิดการดำเนินงานเกิดปญหาอุปสรรค  เกด
                       ประเด็นข อสังเกตจากหน วยงานที่เข าตรวจสอบ ทำให สหกรณ ต องเสียเวลาในการแก ไขป>ญหาท  ี่
                       เกิดขึ้นแทนที่จะนำโอกาสนั้นไปพัฒนาสหกรณ ให เจริญก าวหน ามากขึ้น

                            2.  ป>ญหาด านองค ความรู ของบคลากรสหกรณ เนื่องจากสหกรณเป@นภาคการเกษตรที่สมาชิกเปน
                                                                                                        @
                                                    ุ
                       เกษตรกร มีการสลับสับเปลี่ยนบุคลากรเข ามาทำหน าที่ในการบริหารงานสหกรณ ซึ่งส วนใหญ ขาด
                       ความรู  ความเข าใจในการบริหารงานในรูปแบบสหกรณ   ไม มีทักษะหรือความเชี่ยวชาญในเรื่องการ
                       บริหาร การดำเนินงาน การดำเนินธุรกิจ การเงินการบัญชี และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข อง ทำให การดำเนินงาน
                                                                                                        @
                       ของสหกรณ ไม เกิดความคล องตัวและพัฒนาได ช า  ซึ่งการเปลี่ยนบุคลากรของสหกรณ บ อยๆก็เปน
                       ป>ญหาในการพัฒนาเพราะเกิดป>ญหาการดำเนินการที่ไม ต อเนื่อง

                            3.  ป>ญหาด านเงินทุนหมุนเวียน  กลุ มเกษตรกรในพื้นที่ส วนใหญ เงินทุนหมุนเวียนไม เพียงพอต อ
                                              @
                       การดำเนินงาน เนื่องด วยเปนกลุ มเล็กๆที่ไม ค อยมีธุรกิจมากมาย มีเพียงการจัดหาป>จจัยการผลิตหรือ
                                                          ี
                       ปล อยเงินกู ปRละครั้ง ทำให เงินทุนของกลุ มมไม มาก ไม มีรายได อื่นๆ ดังนั้น เงินทุนภายในของกลุ มย อม
                       ไม เพียงพอต อความต องการของสมาชิกแน นอน  ดังนั้น  กลุ มต างๆจึงยังต องพึ่งพาเงินทุนจาก
                       ภายนอกทั้งหมด เช น เงินกู จากกรมส งเสริมสหกรณ   เพื่อนำมาให สมาชิกู ยืมไปใช ในการประกอบ
                       อาชีพ


                          ข&อเสนอแนะ/แนวทางแก&ไขปZญหา
                            1.  ควรมีหน วยงานภาครัฐที่มีหน าที่เฉพาะลงไปให การศึกษาอบรมให แก บุคลากรของสหกรณ
                       และกลุ มเกษตรกรเป@นประจำและสม่ำเสมอ ทั้งนี้ เนื่องจากว าสมาชิสหกรณ ส วนใหญ ยังขาดความรู
                                                                                                  @
                                                                   ี
                       ความเข าใจในเรื่องการดำเนินงานในรูปแบบสหกรณอกเป@นจำนวนมาก บางคนรู แค ว าเมื่อเปนสมาชิก

                       แล วมีสิทธิ์กู เงิน  อย างอื่นเขาไม ทราบเลย ทั้งที่สิทธิ์และหน าที่ของสมาชิกมีอีกมากมายที่สมาชิก
                                                 ื
                       จะต องเรียนรู และให ความร วมมอกับสหกรณ ในทกเรื่องที่สหกรณดำเนินการ
                                                              ุ

                            2.  ในสหกรณ หรือกลุ มเกษตรกรทเริ่มดำหน วยงานภาครัฐควรมแผนงาน/โครงการเพอสนับสนุน
                                                                               ี
                                                       ี่
                                                                                                ื่
                       เงินทุนหมุนเวียนปลอดดอกเบี้ย  ทั้งนี้ สหกรณ และกลุ มเกษตรกรต างๆที่จัดตั้งขึ้นใหม  ส วนใหญ ยัง
                       ขาดเงินทุนหมุนเวียนที่จะใช ในการดำเนินงาน ดังนั้น  ภาครัฐควรที่จะเข าไปดูแลในเรื่องนี้เพื่อให
                       องค กรเหล านั้นเข าถึงแหล งเงินทุนดอกเบี้ยต่ำหรือปลอดดอกเบี้ย
   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117