Page 118 - (Microsoft Word - 1.\303\322\302\247\322\271\273\303\320\250\323\273\32563 ok17.31\271.)
P. 118

รายงานประจำป  2563 (Annual Report)  | 111


                              สหกรณ ในพื้นที่มีความแตกต างกันตามบริบท จึงแบ งประเภทสหกรณ ออกเป@น 3 กลุ ม

                       เพื่อเข าแนะนำส งเสริมและกำกับติดตามให เกิดผลดังนี้
                                                                                 1
                              1.  สหกรณ1/กลุ มเกษตรกร ที่ดำเนินงานปกติและผ านเกณฑมาตรฐาน
                                     การแนะนำให&สหกรณ1รักษามาตรฐานสหกรณ1/กลุ มเกษตรกร


                                  กระบวนการเข าแนะนำส งเสริมของกลุ มส งเสริมสหกรณ   ได แก   การเข าร วมประชุม
                       คณะกรรมการสหกรณ /กลุ มเกษตรกรเพื่อร วมกันวิเคราะห ข อมูลผลการจัดมาตรฐานสหกรณ /กลุ ม
                       เกษตรกรในปRที่ผ านมา  โดยการนำเกณฑ มาตรฐานสหกรณ จำนวน 7 ข อ และเกณฑ มาตรฐานกลุ ม
                       เกษตรกร  จำนวน      5 ข อ เพื่อวางแผนและกำกับติดตามเกณฑ มาตรฐานเป@นรายข อให สหกรณ
                       สามารถรักษามาตรฐานหรือมีกระบวนการภายในที่ดีขึ้น และผลักดันให สหกรณ /กลุ มเกษตรกรที่ไม

                       ผ านเกณฑ มาตรฐานให สามารถ  ผ านเกณฑ มาตรฐานได

                                  ผลจากการเข&าแนะนำส งเสริม  สหกรณ ที่นำมาจัดมาตรฐานในปRงบประมาณ พ.ศ.
                       2562  จำนวน  7  แห ง   สามารถผ านเกณฑ มาตรฐานหรือผลักดันให ผ านเกณฑ มาตรฐานได

                       จำนวน  4 แห ง  ได แก   1. สหกรณ การเกษตรศีขรภูมิ จำกัด  2.สหกรณ การเกษตรไตรมิตร จำกด
                                                                                                        ั
                       3. สหกรณ มาตรฐานสินค าเกษตรไทย จำกัด  และ 4.สหกรณ เดินรถศีขรภูม-สุรินทร  จำกัด มีสหกรณ
                                                                                     ิ
                                                                                                        ิ
                       ที่ไม ผ านเกณฑ มาตรฐาน จำนวน 1 แห ง คือสหกรณ ผู ใช น้ำกุดหวาย-เกาะแก ว จำกัด เนื่องจากเกด
                       ป>ญหาทุจริตในสหกรณ  และมีสหกรณ ที่ยังไม นำมาจัด  จำนวน 2  แห ง ประกอบไปด วย 1.สหกรณ
                       การเกษตรอินทรีย ช างปR_ศรีสมบูรณ   จำกัดและ  2.สหกรณ อาเซยนเพื่อเกษตรกร   จำกัด  เนื่องจาก
                                                                            ี
                       จัดตั้งยังไม ครบ 2 ปR และกลุ มเกษตรกรจำนวน 1 แห ง คือ กลุ มเกษตรกรทำนายาง ดำเนินการผ าน
                       เกณฑ มาตรฐาน

                              การสร&างภูมิคุ&มกันด&านเงินทุนสหกรณ1/กลุ มเกษตรกร


                               กระบวนการเข าแนะนำส งเสริมของกลุ มส งเสริมสหกรณ  ได แก  การเข าร วมประชุม
                       คณะกรรมการให คำแนะนำและสร างความเข าใจในการระดมทุน  ประโยชน ของการระดมทุนภายใน
                                                                          ุ
                       โดยเน นให สมาชิก ทุกคนมีส วนร วมในการวางแผนการระดมทนภายในและตระหนักถึงบทบาทหน าท   ี่
                       ของสมาชิกที่มีต อสหกรณ /กลุ มเกษตรกร ประชาสัมพันธ เชิญชวนให สมาชิกมีส วนร วมในการระดมทน
                                                                                                        ุ
                       ภายใน อาทิเช น ทุนเรือนหุ น   เงินรับฝากออมทรัพย   และการนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไป
                       ปรับใช ในการดำเนินงานของสหกรณ และขยายผลไปสู สมาชิก

                                  ผลจากการเข าแนะนำส งเสริม   สหกรณ /กลุ มเกษตรกร  มีทุนภายในเพิ่มขึ้น ส งผลให
                       สหกรณ /กลุ มเกษตรกรสามารถให บริการสมาชิกที่มีความเดือดร อนด านเงินทุน  ด านป>จจัยการผลิต
                       และเป@นจุดศูนย กลางในการรวบรวมผลผลิตแก สมาชิก อาทิเช น  ข าว  โดยสมาชิกมีส วนร วมในการ
                       ดำเนินธุรกิจกบสหกรณ /กลุ มเกษตรกรเพิ่มขึ้น โดยสหกรณ ที่มีทุนภายในของสหกรณ เพิ่มขึ้นม ี
                                   ั
                       แนวโน มที่จัดหาเงินทุนจากภายนอก (ขอกู เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ )  มาใช ในการดำเนินงานของ

                       สหกรณ ลดลง คือ สหกรณ มาตรฐานสินค าเกษตรไทย  จำกัด และ สหกรณ เดินรถศีขรภูม-สุรินทร  จำกัด
                                                                                             ิ
   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123