Page 125 - (Microsoft Word - 1.\303\322\302\247\322\271\273\303\320\250\323\273\32563 ok17.31\271.)
P. 125

รายงานประจำป  2563 (Annual Report)  | 118


                          ผลการเข&าแนะนำ ส งเสริม และแก&ไขปZญหาสหกรณ1และกลุ มเกษตรกร


                       1.  บริบทและประเด็นปZญหาในพื้นท  ี่
                          4.  ด านการดำเนินงาน
                                                                                                        ั
                              สหกรณ ในพื้นที่อำเภอชุมพลบุรี  ส วนใหญ เป@นสหกรณ ภาคการเกษตร มสหกรณ หลักระดบ
                                                                                          ี
                       อำเภอ จำนวน 2 แห ง นอกนั้นเป@นสหกรณ ขนาดเล็ก  ซึ่งมีข อจำกัดด วยศักยภาพการดำเนินงาน อาท  ิ
                                                                                     ุ

                       ความพร อมด านบคลากร งบประมาณเงินทุนหมุนเวียน อาคารสำนักงานวัสดอุปกรณ  และองคความรู
                                     ุ
                                                                                                        ื่

                       ความเชี่ยวชาญในการดำเนินงานและการบริหารงาน บางสหกรณ จัดตั้งขึ้นโดยไม ได มีวัตถุประสงคเพอ
                       ช วยเหลือสมาชิกและช วยเหลือซึ่งกันและกัน  แต เป@นการจัดตั้งเพื่อรอการช วยเหลือและขอรับการ
                       สนับสนุนจากหน วยงานต าง ๆ ของภาครัฐ  จึงทำให การดำเนินงานของสหกรณ ไม เป@นไปตามแผนท ี่
                       กำหนด  สหกรณ ไม สามารถดำเนินธุรกิจได   ด วยสภาพป>ญหาดังกล าวทำให ศักยภาพการดำเนินงาน
                       และการให บริการด านต าง ๆ ของสหกรณ ไม สามารถตอบสนองความต องการให กับสมาชิกได อย าง
                       เพียงพอ
                              การพัฒนาสหกรณ และกลุ มเกษตรกรให เข มแข็ง  เป@นที่พึ่งของมวลสมาชิกอย างยั่งยื่น  ของ

                       กลุ มส งเสริมสหกรณ   5  ได ดำเนินการกำกับดูแล  แนะนำส งเสริมให สหกรณ และกลุ มเกษตรกร  ใน
                       พื้นที่ดำเนินการให เป@นไปตามกฎหมายว าด วยสหกรณ และกลุ มเกษตรกรและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของ

                       ในการดำเนินกิจการของสหกรณ /กลุ มเกษตรกร  รวมทั้งส งเสริมด านการพัฒนาการบริหารงานและ

                       พัฒนาธุรกิจของสหกรณ และกลุ มเกษตรกรให ดำเนินงานเป@นไปตามวัตถุประสงค   ตลอดจนเผยแพร
                       ความรู ความเข าใจเกี่ยวกับหลักการ  อุดมการณ และวิธีการสหกรณ ให แก บุคคลภายนอกและ
                       ประชาชนทั่วไป  ให มีความรู ความเข าใจในระบบสหกรณ
                          5.  ด านการดำเนินธุรกิจ

                              สหกรณ ในพื้นที่ส วนใหญ ให บริการสินเชื่อเป@นธุรกิจหลัก เน นการจัดหาแหล งทุนจากภายนอก
                       มาดำเนินงานมากกว าทุนจากภายใน เนื่องด วยการส งเสริมให สมาชิกฝากออมและลงทุนกับสหกรณยัง

                       มีค อนข างน อย สหกรณ ไม ดำเนินการให เป@นกิจจะลักษณะ อีกทั้งสหกรณ ยังไม มีความพร อมในการ

                       ดำเนินธุรกิจอื่นให เป@นไปตามความตองการของสมาชิก เนื่องด วยข อจำกัดของเงินทุนหมุนเวียน
                                    โดยในปRงบประมาณ  พ.ศ.  2563  กลุ มส งเสริมสหกรณ   5  ได แนะนำส งเสริมให สหกรณ
                       ในพื้นที่ดำเนินการได อย างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล  ดังนี้  1. การส งเสริมการปลูกพริก  2.การ
                       สนับสนุนเงินทุนเพื่อสร างระบบแหล งน้ำในไร นา  3. ธนาคารสินค าเกษตร 4. โครงการส งเสริมการ
                       ผลิตเมล็ดพันธุ ดี 5. การส งเสริมอาชีพสมาชิกสหกรณ สร างอาชีพเสริมเพิ่มรายได  ตลอดจนการแก ไช

                       ป>ญหาข อสังเกตและข อบกพร องที่เกิดขึ้นให แล วเสร็จภายในกรอบระยะเวลาตามคำสั่งนายทะเบียน
                       สหกรณ
                              สหกรณ ในพื้นที่มีความแตกต างกันตามบริบท จึงแบ งประเภทสหกรณ ออกเป@น 3 กลุ ม

                       เพื่อเข าแนะนำส งเสริมและกำกับติดตามให เกิดผลดังนี้
                              สหกรณ1หลักระดับอำเภอ
                                 การแนะนำการดำเนินงานของสหกรณ1หลักระดับอำเภอ

                                    กระบวนการเข าแนะนำส งเสริมของกลุ มส งเสริมสหกรณ   ได แก   การประชุม
                       คณะกรรมการดำเนินการเป@นประจำทุกเดือนอย างต อเนื่อง เพื่อให สหกรณ ได ติดตาม วางแผน แก ไข
   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130