Page 218 - (Microsoft Word - 1.\303\322\302\247\322\271\273\303\320\250\323\273\32563 ok17.31\271.)
P. 218
รายงานประจำป 2563 (Annual Report) | 211
20. โครงการส งเสริมการใช&เครื่องจักรกลการเกษตรทดแทนแรงงานเกษตร
1.วัตถุประสงค1/เปnาหมาย/พนที่ดำเนินงานโครงการ :
ื้
ความเหนื่อยยากของการทำการเกษตรทำให ลูกหลานเกษตรกรจำนวนมากไม ยึดอาชีพ
ี
เกษตรกรรมสืบต อจากพอแม จำนวนเกษตรกรมีแนวโน มลดลงอย างตอเนื่อง จนในป>จจุบันเหลือเพยง
ร อยละ 35 ของประชากรทั้งประเทศ นอกจากนี้เกษตรกรส วนใหญ มีอายุ 40 ปRขึ้นไปซึ่งเป@นวัย
สูงอายุ คาดการณ ได ว าอีก 10 ถึง 20 ปRข างหน าประเทศไทยจะมีโอกาสสูงในการเกิดป>ญหาวิกฤต ิ
ทางการเกษตรอันเนื่องมาจากการขาดแคลนเกษตรกร ประเทศเพื่อนบ านกำลังเร งพัฒนาการเกษตร
กันอย างจริงจัง รวมถึงมีการลงทุนโครงการ พัฒนาการเกษตรจากต างชาติจำนวนมาก ทั้งเมียนมาร
ลาว กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย และอินโดนีเซีย โดยมีการนำเทคโนโลยีเครื่องจักรกลที่ม ี
ประสิทธิภาพมาใช ในการผลิตอย างเป@นระบบ โดยเฉพาะอย างยิ่งในพืชเศรษฐกิจและ พืชวัตถดิบของ
ุ
อุตสาหกรรม ในอนาคตจึงจะเกิดการแข งขันการคาและราคาสินคาเกษตรอย างรุนแรงในภูมิภาค เพอ
ื่
รักษาความเป@นหนึ่งในการเป@นผู นำทางการเกษตรและอาหารของประเทศ การใช เทคโนโลยี
เครื่องจักรกลการเกษตรให เป@นกลไกในการพัฒนาการเกษตรยุคใหม ของประเทศ เพื่อทดแทนแรงงาน
ื่
ลดต นทุนการผลิต เพิ่มประสิทธิภาพทางการเกษตรทั้งเชิงปริมาณ คุณภาพ และเวลา และเพอ
ยกระดับความก าวหน าใน การใช เทคโนโลยีทางการผลิตสินค าเกษตรของประเทศ กระทรวงเกษตร
และสหกรณ จึงกำหนดยุทธศาสตร การส งเสริมการใช เครื่องจักรกลการเกษตรขึ้น มีแนวทางการพฒนา
ั
ี่
ให ชุมชนทเป@นแหล งผลิตหลักทางการเกษตรไดม เครื่องจักรกลการเกษตรใช เป@นอุปกรณ สำคญในการ
ี
ั
ผลิต ลดความเหนื่อยล าและเพิ่มคุณภาพชีวิตให แก เกษตรกร โดยจะมุ งเปGาไปที่การดำเนินงานในพช
ื
เศรษฐกิจของประเทศเป@นอันดับแรก เพื่อให เกิดผลตอบสนองกลับมายัง เศรษฐกิจของประทศได
อย างเปนรูปธรรม ทิศทางการสนับสนุนและลงทุนในการพัฒนา มีเปGาประสงค ให เกิดการยกระดบการ
ั
@
ิ
ั
ใช เครื่องจักรกลในการทำการเกษตรของประเทศในทศทางที่สอดคล องกบนโยบาย ยุทธศาสตร และ
แผนพัฒนา การเกษตรด านอื่น ๆ ให บรรลุผลได อย างชัดเจนควบคู กัน ทั้งนโยบายการบริหารจัดการ
พื้นทเกษตรกรรม (Zoning) นโยบายเมืองเกษตรสีเขียว (Green City) ให ภาคเกษตรของไทยสามารถ
ี่
พัฒนาได อย างรวดเร็วทันตอการแข งขัน ระดับโลก โดยใช แนวทางการบริหารจัดการร วมกันในชุมชน
ในรูปแบบของศูนย เรียนรู ชุมขนด านเครื่องจักรกล การเกษตร เพื่อเป@นศูนย นำร องในการเรียนรู และ
ให บริการเครื่องจักรกลการเกษตร โดยสนับสนุนเครื่องจักรกล การเกษตรที่ทันสมัยและม ี
ประสิทธิภาพให เป@นโครงสร างพื้นฐานทางการผลิตให กับชุมชน อาทิ องค การบริหารส วนตำบล
(อบต.) สหกรณ กลุ มเกษตรกร วิสาหกิจชุมชน ฯลฯ ที่มีการผลิตพืชเศรษฐกิจเปGาหมายในพื้นที่การ
ประกาศ เป@นเขตที่มีความเหมาะสมในการผลิต (Zoning) ที่ป>จจุบัน พัฒนาศักยภาพการให บริการ
เครื่องจักรกลเกษตรในชุมชน แก องค กรเกษตรกร และผู ประกอบการทั่วไป ที่ดำเนินธุรกิจการ
ให บริการเครื่องจักรกลเกษตรในชุมชน เพื่อให มีความพร อมทั้งด านองค ความรู ทักษะทางเทคนิค และ
การบริหาร จัดการธุรกิจอย างมีประสิทธิภาพ
วัตถุประสงค1
เพื่อพัฒนาศักยภาพธุรกิจการให บริการเครื่องจักรกลการเกษตร ให มีความพร อม ทั้งด านองค
ความรู ทักษะทางเทคนิค และการบริหารจัดการได อย างมีประสิทธิภาพ