Page 239 - (Microsoft Word - 1.\303\322\302\247\322\271\273\303\320\250\323\273\32563 ok17.31\271.)
P. 239

รายงานประจำป  2563 (Annual Report)  | 232


                         โครงการตามนโยบายสำคัญ


                       1.  โครงการนำลูกหลานเกษตรกรกลับบ;าน สานต ออาชีพการเกษตร

                                               ื้
                       1. วัตถุประสงค1/เปnาหมาย/พนที่ดำเนินงานโครงการ :
                              จากป>ญหาภาคการเกษตรของไทยกำลังก าวเข าสู สังคมสูงอายุอย างเต็มรูปแบบ ในขณะท ี่
                       ลูกหลาน ซึ่งเป@นคนรุ นใหม นิยมออกไปทำงานในเมืองใหญ  และไม สนใจประกอบอาชีพเกษตรกรรม
                       เกิดป>ญหาทำให แรงงานภาคเกษตรเริ่มคลาดแคลน แรงงานภาคเกษตรมีอายุเพิ่มขึ้น ในขณะที่ภาค
                       เกษตรเป@นแหล งผลิตอาหารที่สำคัญเพื่อการบริโภคของคนไทยทั้งประเทศและการสู เป@นครัวของโลก

                       รวมถึงความจำเป@นในการปรับตัวของสหกรณภาคเกษตรเพื่อสร างสมาชิกเกษตรกรรุ นใหม  กระทรวง

                                          ี
                       เกษตรและสหกรณ จึงมนโยบายทจะสร างแรงจูงใจให คนรุ นใหม หันกลับมาทำอาชีพเกษตรกรรม หรือ
                                                  ี่
                                                                                                        ิ่
                       คนเมืองที่ประสบป>ญหาด านการประกอบอาชีพในเมืองแต มีที่ดินเพื่อสร างอาชีพและอยากกลับสู ถน
                       เกิดเพื่อทำอาชีพเกษตรกรรม โดยมอบหมายกรมส งเสริมสหกรณ หาแนวทางในการสนับสนุนให
                       สหกรณ การเกษตรที่มีความเข มแข็งให ความช วยเหลือแก ลูกหลานสมาชิกหรือบุคคลทั่วไปที่ต องการ
                                                                  ื่

                       กลับมาพัฒนาถนกำเนิด ประกอบอาชีพการเกษตรเพอสร างรายได ให แกเกษตรกรอย างมั่นคง รวมถง ึ
                                   ิ่

                       สนับสนุนคนรุ นใหม รักอาชีพเกษตรกรรม กรมส งเสริมสหกรณไดจัดทำโครงการนำลูกหลานกลับบาน


                       สานต ออาชีพการเกษตร มีการจัดประชุมชี้แจงแนวทางการขับเคลื่อนโครงการแก ข าราชการจังหวัด
                       และสหกรณ การเกษตรทราบ และประชาสัมพนธ เปดตัวโครงการ ผู สมัครและสหกรณ ภาคการเกษตร
                                                                 m
                                                             ั
                       สามารถสมัครได ทางเว็บไซด กรมส งเสริมสหกรณ  ซึ่งมีผู สมัครเข าร วมโครงการทั่วประเทศ จำนวน
                       ๗,๕๖๐ คน สหกรณ ภาคการเกษตร จำนวน 482 แห ง
                                                                                                        ั
                              ผู สมัครเข าร วมโครงการของสำนักงานสหกรณ จังหวัดสุรินทร  จำนวน 415 คน สถาบน
                       เกษตรกร 23 แห ง ซึ่งจากการสำรวจความพร อมเบื้องต นพบว า ผู สมัครกว า 332 คน ยังต องการการ
                       สนับสนุนด านความรู ด านการผลิต เทคโนโลยี และป>จจัยการผลิต โดยมีความสนใจพิเศษ เรื่อง
                       การเกษตรผสมผสาน เกษตรอินทรีย  เกษตรสมัยใหม  พลังงานทดแทน เป@นต น ขณะเดียวกัน ยังม  ี
                       เกษตรกรที่เข าร วมโครงการจำนวนหนึ่งที่มีประสบการณ การผลิตในภาคการเกษตรแล ว สามารถเป@น


                       แหล งเรียนรู ศึกษาดูงานของโครงการ และเป@นตัวอย างของความสำเร็จของอาชีพเกษตรกรรมได จึง
                       สมควรส งเสริมให มีการสร างเครือข าย การเรียนรู ระหว างผู สมัคร สถาบันเกษตรกร และหน วยงาน
                       ภาค โครงการดังกล าว ยังรับสมัครสถาบันเกษตรกรเข าร วมโครงการด วย เพื่อเป@นองค กรที่จะร วม
                          ี
                       ขับเคลื่อนโครงการและเป@นศูนย กลางเรียนรู  และให บริการด านการเกษตรแก ผู เข าร วมโครงการ แต
                                                                                        ั

                       สถาบันเกษตรกรบางส วนยังขาดความเขาใจ และขาดการเตรียมความพร อมในการขบเคลื่อนโครงการ
                               สำนักงานสหกรณ จังหวัดสุรินทร  ได จัดทำโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ การสร างเครือขาย

                       ลูกหลานเกษตรกรกลับบ าน ประจำปRงบประมาณ พ.ศ.2563 เพื่อส งเสริมให มีการเรียนรู ระหว าง
                       ผู เข าร วมโครงการ สถาบันเกษตรกร และ หน วยงานภาคีในจังหวัด เสริมสร างความสัมพันธ และเตรียม
                       ความพร อมในการขับเคลื่อนโครงการตอไป
                                                      1
   234   235   236   237   238   239   240   241   242   243   244