Page 22 - Education 4.0 : ศ.ดร.ไพฑูรย์ สินลารัตน์
P. 22

14   ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.ไพฑูรย์ สินลารัตน์
          กับแนวคิดและการขับเคลื่อนการศึกษา 4.0




          การขับเคลื่อน

                                 การศึกษา
                                 การศึกษา
                                 การศึกษา         4.0



                 ผูเขียนขอยกตัวอยางกิจกรรมที่สถาบันอุดมศึกษาของไทย  2  แหงใช
                 ผูเขียนขอยกตัวอยางกิจกรรมที่สถาบันอุดมศึกษาของไทย  2  แหงใช
          ขับเคลื่อนการศึกษา 4.0 ที่จะตอบโจทยประเทศไทย 4.0 โดยแหงแรก คือ Chula
          Engineering Education 4.0 จากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และ“วไลอลงกรณ โมเดล”
          จากมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณในพระบรมราชูปถัมภ ดังนี้


          กรณีศึกษา Chula Engineering Education 4.0

                 ปจจุบัน คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เปนองคกรทางการศึกษา
          แหงแรกๆ ของไทยที่ไดขับเคลื่อนการศึกษาไทย 4.0 ภายใตชื่อ Chula Engineering
          Education 4.0โดยมีหลักการวา “ วิศวฯจุฬาฯถือเอาการผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพเพื่อไป
          ชี้นําการพัฒนาสังคมเปนพันธกิจอันดับหนึ่งวิศวฯจุฬาฯที่ในการกาวสูศตวรรษที่ 2 เรียก
          ตัวเองวา Chula Engineering ไดนํารากฐานอันยาวนานในแนวคิดการผลิตบัณฑิต

          วิศวกรบูรณาการเขากับนวัตกรรมการเรียนการสอนระดับโลกไดนํามาสูกระบวนการผลิต
          บัณฑิตที่เรียกวาChula Engineering Education 4.0 ”
          บัณฑิตที่เรียกวาChula Engineering Education 4.0 ”
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27