Page 27 - Microsoft Word - แนวทางการจัดการศึกษาหลักสูตรการรู้หนังสือไทย
P. 27

22



                  งบประมาณ/และการจ่ายค่าตอบแทน
                                 - ค่าตอบแทนผู้สอน กําหนดค่าใช้จ่ายเป็นรายหัวตามเกณฑ์ที กระทรวงการคลัง กําหนด

                                 - ค่าดําเนินการ เป็นค่าวัสดุ/สื อ/พัฒนาบุคลากรและนิเทศติดตามผล ตามเกณฑ์ที ได้รับ

                  การจัดสรร


                  การนิเทศติดตามผล

                        บทบาทหน้าที ของหน่วยงาน ในการนิเทศติดตามการจัดการศึกษาตามหลักสูตรการรู้หนังสือไทย

                  พุทธศักราช
                        1. สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ดําเนินการนิเทศ  ติดตามผล

                  และรับรายงาน

                        2. สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด/กทม. ดําเนินการ
                  นิเทศติดตามผล และรับรายงานการจัด  ภายในจังหวัด/กทม.

                        3. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอ/เขต ดําเนินการ ดังนี

                             3.1 แต่งตั งคณะกรรมการนิเทศ ติดตามผล
                             3.2 จัดประชุมคณะกรรมการนิเทศ ติดตามผล เพื อชี แจงวัตถุประสงค์ กําหนดบทบาท หน้าที

                  และจัดทําแผนการนิเทศติดตาม ก่อนเรียน ระหว่างเรียน และหลังเรียน

                           .  ดําเนินการนิเทศตามแผนที คณะกรรมการกําหนด
                          .  สรุปและรายงานผลการนิเทศ นําผลการนิเทศไปพัฒนาการดําเนินงาน


                  การจัดกระบวนการเรียนรู้

                           1.  หลักการในการจัดกระบวนการเรียนรู้

                         หลักสูตรการรู้หนังสือไทย พุทธศักราช      ของสํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ

                  การศึกษาตาม อัธยาศัย เป็นหลักสูตรที ใช้ในการจัดการศึกษา เพื อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะที พึง

                  ประสงค์ ตามจุดหมายของหลักสูตร จึงใช้หลักการในการจัดกระบวนการเรียนรู้ ดังนี
                           .  หลักการบูรณาการ  เป็นการบูรณาการเนื อหาสาระกับวิถีชีวิตและสภาพชุมชน สังคม โดย

                  การเรียนรู้จากสิ งที ใกล้ตัว ไปสู่สิ งที ไกลตัว เพื อให้นําไปใช้ในชีวิตประจําวัน

                           .  หลักการคิดเป็น เป็นการใช้กระบวนการคิดที รอบด้าน สมเหตุสมผล โดยนําข้อมูล เกี ยวกับ
                  ตนเอง  สังคมและวิชาการ มาใช้ในการตัดสินใจ ตามปรัชญา “คิดเป็น”

                           .  หลักการมีส่วนร่วม  เป็นการให้ทุกภาคส่วน เข้ามามีส่วนร่วมในการจัด กระบวนการเรียนรู้

                           .  หลักการเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ เป็นการให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการจัดกระบวนการเรียนรู้
                           .  หลักการใช้สื อและวิธีการที หลากหลาย  เป็นการใช้สื อและวิธีการที เหมาะสม กับเนื อหา

                  สาระ  สภาพของผู้เรียน ชุมชน และสังคม
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32