Page 26 - history
P. 26

23




                     ประณีตศิลป์

                     โดยสรุปลักษณะที่ส าคัญแต่ละประเภท ดังนี้


              1. ศิลปกรรมสถาปัตยกรรม ประติมากรรม จิตรกรรม ประณีตศิลป์

              2. วรรณกรรม

              3. ประเพณี

              4. พระพุทธศาสนา
                     งานประณีตศิลป์สมัยอยุธยาถือได้ว่ามีความเจริญถึงขีดสุดเหนือกว่าศิลปะแบบอื่นๆ


              งานประณีตศิลป์ที่เกิดขึ้นมีหลายประเภท เช่น

              - เครื่องไม้จ าหลัก

              ได้แก่ ตู้พระธรรม ธรรมาสน์ พระพุทธรูป บานประตู หน้าต่าง หน้าบันพระอุโบสถ ตู้

              เก็บหนังสือ

              - ลายรดน้ า คือการน าทองมาปิดลงบนรักสีด าบนพื้นที่เขียนภาพหรือลวดลายแล้วรดน้ า

              ล้างออก นิยมใช้ในบานประตูโบสถ์วิหาร ตู้พระธรรม ตู้ใส่หนังสือ เป็นต้น

              - การประดับมุก

              ได้มาจากจีน แต่ได้ปรับให้เป็นลวดลายอย่างไทย พบในบานประตูที่วิหารพระพุทธชินราช

              จังหวัดพิษณุโลก เป็นต้น

              - เครื่องเบญจรงค์ เป็นการออกแบบลวดลายบนเครื่องเคลือบถ้วยชามด้วยสี 5 สี คือ

              สีแดง สีเขียว สีเหลือง สีขาว สีด า และสีน้ าเงิน ลวดลายที่ใช้มักเป็นลายก้นขด หรือ

              ลายก้านแย่ง หรือใช้รูปตกแต่ง เช่น เทพนมสิงห์ ลายกนก กินรี กินนร นรสิงห์

              เป็นต้น

              - เครื่องทองประดับ

              มีทั้งเครื่องทองรูปพรรณ เครื่องราชูปโภคของพระมหากษัตริย์ เครื่องทองประดับอัญมณี

              ทองกร เป็นต้น

              - ลายปูนปั้น คือลวดลายที่ปั้นด้วยปูนเพื่อประดับตกแต่งตามส่วนต่างๆ ของหน้าบันประตู

              เจดีย์ และปรางค์ ได้รับอิทธิพลทั้งจากขอมและตะวันตก เช่น ที่วัดมหาธาตุ วัดราษฎร์

                 บูรณะ วัดตะเว็ต วัดพระราม วัดภูเขาทอง เป็นต้น
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31