Page 66 - ธัมม์วัด
P. 66
1.ในรูปของชานเชื่อมกลางระหว่างอาคารเรียน (ที่แบ่งออก โรงเรียนปริยัติธรรม เป็นอาคารเรียน 3 ชั้น แบ่งออกเป็น
เป็น 2 หลัง) ทุกครั้งก่อนเข้าห้องเรียนสามเณรจะต้องผ่านชาน 2 หลัง เชื่อมด้วยบันไดและชานตรงกลาง ประกอบไปด้วย
นี้เสมอ ชานส่วนนี้ถูกแบ่งออกเป็น 3 ชั้น ที่ส่งผลต่อการรับรู้ที่ ห้องเรียนขนาด 25 คน 6 ห้อง ห้องคอมพิวเตอร์ ขนาด 25
แตกต่างกัน ไล่จากชั้นใต้ถุนที่เชื่อมเป็นที่นั่ง หรือ Step ลงไป คน 1 ห้อง ห้องกรรมฐานขนาด 25 คน 1 ห้อง ห้องพัก
ตามความลาดชันของเนินดิน ชั้น 2 พาให้เห็นพุ่มใบของต้นไม้ อาจารย์(รวม) ขนาด 4 คน 1 ห้อง ห้องน้ำ-ส้วม อาจารย์ 1
ท
ที่อยู่ใกล้และไกล ส่วนชั้น 3 พาให้สัมผัส แสงแดด ท้องฟ้าี่อยู่ใกล้และไกล ส่วนชั้น 3 พาให้สัมผัส แสงแดด ท้องฟ้า ห้อง ห้องน้ำ-ส้วม อาบน้ำสามเณร (รวม) และพื้นที่อเนก
ยอดไม้ สายฝน ประสงค์ รวมพื้นที่อาคารประมาณ 1,400 ตารางเมตร โดยมี
พ
พื้นที่ “ระหว่าง” อันได้แก่ ใต้ถุน ชาน บันได เกือบ 50 %ื้นที่ “ระหว่าง” อันได้แก่ ใต้ถุน ชาน บันได เกือบ 50 %
2.ในรูปของใต้ถุน อันเป็นพื้นที่อเนกประสงค์เปิดโล่งต่อเนื่อง ของพื้นที่ทั้งหมด
ไปสู่พื้นดินที่อยู่รอบๆเปิดโอกาสให้สามเณรสัมผัสพื้นดิน
มากขึ้น
3.ในรูปของผนังอิฐยื่นออกไป (ในแนวเหนือ – ใต้) สู่พื้นที่
สนามหรือพื้นที่ธรรมชาติภายนอกอาคาร ซึ่งพาให้สายตา
และความรู้สึกของสามเณรรับรู้ความเป็น “ห้องแห่งธรรมชาตละความรู้สึกของสามเณรรับรู้ความเป็น “ห้องแห่งธรรมชาติ
แ
จากธรรมชาติอันโล่งว่าง ถูกโอบล้อมด้วยผนังยื่นทำให้ธรรม
ชาติมีตัวตนมากขึ้น เหตุผลของการใช้ผนังอิฐโชว์แนว คือ
สร้างความกลมกลืนกับองค์เจดีย์และวิหารอิฐที่มีอยู่เดิมภาย
ในวัดและเป็นการให้สามเณรได้สัมผัสธาตุดินและธาตุไฟ (อิฐ
คือ การนำดินมาเผาไฟ) ผ่านผนัง
โรงเรียนปริยัติธรรม วัดโชติกุนสุวรรณาราม (วัดหมูบุ่น)
59 อ.เมือง จ.เชียงใหม่