Page 28 - e-book5/6
P. 28
• เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2528 “ด้วยเหตุที่การด าเนินการ
พัฒนาโครงการพัฒนาเบ็ดเสร็จลุ่มน ้าสาขาแม่น ้าปิง อัน
เนื่องมาจากพระราชด าริ เป็นศูนย์พัฒนาบริการสาขาของ
ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ฯ ดังนั้นในส่วนที่
เกี่ยวข้องกับการขยายงาน การส่งเสริม การปลูกพืชมะคา
เดเมีย ให้แก่ราษฎรในพื้นที่โครงการพัฒนาเบ็ดเสร็จลุ่ม
น ้าสาขาแม่น ้าปิงฯ จึงได้มี พระราชด าริให้กรมวิชาการ
เกษตรพิจารณาด้วยว่า พืชมะคาเดเมียเป็นพืชที่ต้องการน ้า
พอควร จึงควรได้ศึกษาในรายละเอียดเสียก่อนกล่าวคือ
ปัญหาที่ส าคัญดั้งเดิมของราษฎรในเขตพื้นที่ของ
โครงการฯ ก็คือ ปัญหาการขาดแคลนน ้า และมีการปลูก
พืชเศรษฐกิจระยะสั้น เพื่อการด ารงชีพเป็นหลัก แต่ก็
ประสบปัญหาความแห้งแล้งในฤดูเพาะปลูกมาโดยตลอด
การที่จะส่งเสริมการปลูกพืช มะคาเดเมียเป็นพืชยืนต้น
และต้องใช้เวลาอีกประมาณ 5-6 ปี จึงจะเริ่มให้ผลใน
ขณะเดียวกันราษฎรต้องการปลูกพืชระยะสั้น เพื่อการ
ด ารงชีพประจ าวัน ประกอบกับปริมาณน ้าชลประทานที่
จัดสร้างขึ้นมีปริมาณค่อนข้างจ ากัด จึงเป็นเรื่องที่จะต้อง
ศึกษาในรายละเอียดให้รอบคอบ และท าแผนปฏิบัติการ
เสียก่อน และขอให้พิจารณาร่วมกันกับกรมชลประทาน
และกรมพัฒนาที่ดินต่อไป”