Page 38 - แผนบทเรียน กิริยามารยาท
P. 38

32


                                               การใช้คําราชาศัพท์ที่ควรสังเกต  ุ

                    การใช้คำว่า “พระ” “พระบรม” “พระราช”

                                                    ่
            “พระ” ใช้นำหน้าคำนามที่เป็นอวัยวะ ของใช้ เชนพระชานุ พระนลาฏ พระขนง เป็นต้น
                                        ็
            “พระบรม” ใช้เฉพาะพระบาทสมเดจพระเจ้าอยู่หัว เช่น พระบรมราโชวาท พระบรมราชานุเคราะห์ พระปรมาภิไธย เป็นต้น
            “พระราช” ใช้นำหน้าคำนาม แสดงว่าคำนามนั้นเป็นของ พระมหากษัตริย์ สมเด็จพระบรมราชินี สมเด็จพระบรม

            โอรสาธิราช สมเด็จพระเทพรัตนราชสดาฯ เช่นพระราชประวัติ พระราชานุญาต พระราชวโรกาส เป็นต้น
                                           ุ
            ➢ การใช้คำว่า “ทรง” มีหลัก 3 ประการ คือ

            -นำหน้าคำนามสามัญบางคำทำให้เป็นกริยาราชาศัพท์ได้ เช่นทรงรถ ทรงดนตรี ทรงช้าง ทรงเครื่อง เป็นต้น

            -นำหน้าคำกริยาสามัญทำให้เป็นกริยาราชาศัพท์ เช่นทรงวิ่ง ทรงเจิม ทรงออกกำลังกาย ทรงใช้ เป็นต้น
                                 ์
            -นำหน้าคำนามราชาศัพททำให้เป็นกริยาราชาศัพท์ได้ เช่นทรงพระราชดำริ ทรงพระอักษร ทรงพระดำเนิน ทรงพระ
            ราชนิพนธ์ เป็นต้น
                                                                      ็
            ➢ คำกริยาที่เป็นราชาศัพท์อยู่แล้วไม่ใช้ “ทรง” นำหน้า เช่นเสวย เสดจ โปรด เป็นต้น
            การใช้ราชาศัพท์ให้ถูกต้องตามสำนวนไทย ไม่นิยมเลียนแบบสำนวนต่างประเทศ

            ถ้ามาต้อนรับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ต้องใช้ว่า ประชาชนมาเฝ้า ฯ รับเสด็จ คำว่า”เฝ้าฯรับเสด็จ” ย่อมาจาก”
            เฝ้าทลละอองธุลีพระบาทรับเสด็จ”ไม่ใช้คำว่า”ถวายการต้อนรับ”
                 ู
                                      ี
                                                                               ่
                                                                                                      ี
            คำว่า”คนไทยมีความจงรักภักด” หรือ”แสดงความจงรักภักด” ใช้ได้ แต่ไม่ควรใชคำว่า “ถวายความจงรักภักด”
                                                              ี

            ➢ การใช้คำราชาศัพท์ให้ถูกต้องตามเหตผล
                                              ุ
                                                                    ้
            คำว่า “อาคันตุกะ” “ราชอาคันตุกะ” และ”พระราชอาคันตุกะ” ใชดังนี้ คือให้ดูเจ้าของบ้านเป็นสำคัญ เช่นแขกของ
            พระมหากษัตริย์ ใช้คำว่า”ราช”นำหน้า ถ้าไม่ใช่แขกของพระมหากษัตริย์ก็ไม่ต้องมี”ราช”นำหน้า

                                                                                ู
            ➢ ในการถวายสิ่งของแด่พระบาทสมเดจพระเจ้าอยู่หัวถ้าเป็นของเล็กยกได้ก็ใช้ “ทลเกล้าฯ ถวาย” ถ้าเป็นของใหญ่
                                             ็
            ยกไม่ได้ใช้ “น้อมเกล้า ฯ ถวาย”
            https://youtu.be/2A1BtpVEznU
   33   34   35   36   37   38