Page 2 - รวม กลุ่ม13 พรรคนี้สมรม
P. 2
- จัดโซนนิ่งจุดคัดแยกขยะที่ ต้นทาง กลางทาง ปลายทาง
จุดพักขยะชั่วคราว
หอผู้ป่วย
โรงพักขยะก่อนส่งก าจัด
- ประชุมชี้แจงแนวทางการปฏิบัติ ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกันแก่หัวหน้างานและผู้ปฏิบัติ เพื่อสร้างการมี
หอผู้ป่วย
หอผู้ป่วย
ส่วนร่วมของ ผู้ปฏิบัติงาน และผู้รับบริการ
- ปฐมนิเทศเจ้าหน้าที่ใหม่ รณรงค์ประชาสัมพันธ์และสื่อสารให้ผู้ป่วยและญาติ เชิญชวนให้ญาติผู้ป่วย
ช่วยกันสื่อสารแก่ผู้รับบริการท่านอื่นๆด้วย
- มอบหมายผู้รับผิดชอบ ติดตามประเมินผลการคัดแยกขยะ สัปดาห์ละ 1 ครั้ง เป็นเวลา 6 สัปดาห์ ประเมิน
โดยคณะกรรมการ ENV. และประเมินไขว้หน่วยงาน ก าหนดให้ส่งแบบประเมินมายังกลุ่มงานอาชีว
เวชกรรมทุกวันศุกร์
9. การประเมินผลการเปลี่ยนแปลง :
กก./วัน กราฟแสดงการเปรีบยเทียบปริมาณขยะในอาคาร 298 รพ.ตรัง
ประเภท
ยังพบปัญหาการทิ้งขยะผิดประเภทอยู่ แต่ไม่พบอุบัติการณ์เข็มต าในคนงานขนขยะมูลฝอยทั่วไป
10. บทเรียนที่ได้รับ:
(1)การสร้างจิตส านึกและการมีส่วนร่วมของเจ้าหน้าที่ทุกระดับในหน่วยงานตลอดจนการกระตุ้นติดตาม
จากทีมและการสนับสนุนจากหัวหน้างานช่วยจัดการและแก้ปัญหาเฉพาะหน้าให้ มีความส าคัญต่อการ
เปลี่ยนแปลงสิ่งใหม่ๆ
(2) ควรเพิ่มความถี่ในการสื่อสารประชาสัมพันธ์ให้แก่ผู้ใช้บริการบ่อยขึ้น หรือ สร้างเครือข่ายจาก
ผู้ใช้บริการด้วยกัน
(3) เพิ่มเสียงตามสายในหอผู้ป่วย และจัดท าสื่อวีดิทัศน์การคัดแยกขยะในรูปแบบที่น่าสนใจ เปิดฉายใน
หอผู้ป่วย
11. การติดต่อกับทีมงาน : กลุ่มงานอาชีวเวชกรรม โรงพยาบาลตรัง โทร.0-7520-1500 ต่อ 5133,5134