Page 12 - สัตว์ป่าสงวน
P. 12
กวำงผำ (Naemorhedus griseus)
ลักษณะ : กวางผาเป็นสัตว์จ าพวก แพะแกะเช่นเดียวกับเลียงผา แต่มีขนาดเล็กกว่า เมื่อโต
เต็มที่มีความสูงที่ไหล่มากกว่า ๕๐ เซนติเมตร เพียงเล็กน้อย และมีน้ าหนักตัวประมาณ ๓๐
กิโลกรัม ขนบนล าตัวสีน้ าตาล หรือสีน้ าตาลปนเทา มีแนวสีด าตามสันหลงไปจนจดหาง ด้านใต้
ท้องสีจางกว่าด้านหลัง หางสั้นสีด า เขาสีด ามีลักษณะเป็นวงแหวนรอบโคนเขา และปลายเรียว
โค้งไปทางด้านหลัง
อุปนิสัย : ออกหากินตามที่โล่งในตอนเย็น และตอนเช้ามืด หลับพักนอนตามพุ่มไม้ และชะง่อน
หินในเวลากลางคืน อาหาร ได้แก่ พืชที่ขึ้นตามสันเขาและหน้าผาหิน เช่น หญ้า ใบไม้ กิ่งไม้
และลูกไม้เปลือกแข็งจ าพวกลูกก่อ กวางผาอยู่รวมกันเป็นฝูงๆละ ๔-๑๒ ตัว ผสมพันธุ์ในราว
เดือนพฤศจิกายน และธันวาคม ออกลูกครอกละ ๑-๒ ตัว ตั้งท้องนาน ๖ เดือน
ที่อำศัย : กวางผาจะอยู่บนยอดเขาสูงชันในที่ระดับน้ าสูงชันมากกว่า ๑,๐๐๐ เมตร
เขตแพร่กระจำย : กวางผามีเขตแพร่กระจายตั้งแต่แคว้นแพร่กระจาย ตั้งแต่แคว้นแคชเมียร์ลง
มาจนถึงแคว้นอัสสัม จีนตอนใต้ พม่าและตอนเหนือของประเทศไทย ในประเทศไทยมีรายงาน
พบกวางผาตามภูเขาที่สูงชันในหลายบริเวณ เช่น ดอยม่อนจอง เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าอมก๋อย
ดอยเลี่ยม ดอยมือกาโด จังหวัดเชียงใหม่ และบริเวณสองฝั่งล าน้ าปิงในอุทยานแห่งชาติแม่ปิง
จังหวัดตาก
สถำนภำพ : กวางผาจัดเป็นสัตว์ป่าสงวนชนิดหนึ่งใน ๑๕ ชนิดของประเทศไทยและอนุสัญญา
CITES จัดไว้ใน Appendix I
สำเหตุของกำรใกล้จะสูญพันธุ์ : เนื่องจากการบุกรุกถางป่าที่ท าไร่เลื่อนลอยของชาวเขาใน
ระยะเริ่มแรกและชาวบ้านในระยะหลัง ท าให้ที่อาศัยของกวางผาลดน้อยลง เหลืออยู่เพียงตาม
ยอดเขาที่สูงชัน ประกอบกับการล่ากวางผาเพื่อเอาน้ ามันมาใช้ในการสมานกระดูกที่หัก
เช่นเดียวกับเลียงผา จ านวนกวางผาในธรรมชาติจึงลดลงเหลืออยู่น้อยมาก
9