Page 7 - ฝายชะลอน้ำกลุ่ม Infinity
P. 7
บทที่ 1
บทน้า
1.1 หลักการและเหตุผล
ในสมัยก์อนมีการใช์ภูมิป์ญญาเพื่อท าฝายกั้นล าน้ าแม์งัดด์วยท์อนซุงขนาดคนโอบ ความยาวเท์ากับ
ความกว์างของล าแม์งัด เสาที่ตอกลงไปสูงกว์าสามเมตร หินที่ใส์ลงไปต์องผูกตะเข์ (คือการใช์เชือกปอ ผูกพัน
ก ์อนหินถ์วงลงในหลุมที่น้ ากัดเซาะ เป์นการป์องกันน้ าพัดหิน) และยังสามารถท าที่ดูดทรายออกจากหน์าฝาย
ป ์องกันการตื้นเขินได์อีกด์วย ซึ่งก็ยังไม์เคยเห็นฝายคอนกรีตที่ไหนลองท า ในป์จจุบันฝายแม์วถูกใช์ในข์อจ ากัด
เฉพาะพื้นที่ เนื่องจากความคงทน ความแข็งแรง ไม์สามารถต์านทานกระแสน้ าที่ไหลเชี่ยวได์ดีเท์ากับฝาย
คอนกรีต การท าฝายชะลอน้ า
ทางคณะผู์จัดท ามีความสนใจในเรื่องของการฝายชะลอน้ า ซึ่งเป์นโครงการตามแนวพระราชด าริ
เกี่ยวกับวิศวกรรมแบบพื้นบ์าน ฝายแม์วเป์นฝายชะลอน้ ากึ่งถาวรประเภทหนึ่ง ประเภทเดียวกับฝายคอกหมู
โดยใช์วัสดุที่หาได์ง์ายในท์องถิ่น เช์นกิ่งไม์ ก์อนหิน เพื่อกั้นชะลอน้ าในล าธาร หรือทางน้ าเล็ก ๆ ให์ไหลช์าลง
และขังอยู์ในพื้นที่นานพอที่จะพื้นที่รอบ ๆ จะได์ดูดซึมไปใช์ เป์นการฟ์์นฟูพื้นที่ป์าเสื่อมโทรมให์เกิดความชุ์ม
ชื้นมากพอที่จะพัฒนาการเป์นป์าสมบูรณ์ขึ้นได์ ฝายแม์วยังอาจใช์เพื่อการทดน้ า ให์มีระดับสูงพอที่จะดึงน้ าไป
ใช ์ในคลองส์งน้ าได์ในฤดูแล์ง โครงการตามแนวพระราชด ารินี้ได์มีการทดลองใช์ที่ โครงการห์วยฮ์องไคร์ จ.
เชียงใหม์ และประสบผลส าเร็จจนเป์นตัวอย์างให์กับโครงการอื่น ๆ
1.2 วัตถุประสงค้
1.2.1 เพื่อศึกษาการท างานของฝายชะลอน้ าและสร์างตัวอย์างทดลองการท างาน
1.2.2 เพื่อจัดท าการทดลองเปรียบเทียบข์อดีข์อเสียของการมีฝายชะลอน้ า
1.3 ขอบเขตการท้างานของโครงงาน
1.3.1 ศึกษารูปแบบของฝายชะลอน้ าแต์ละชนิด
1.3.2 ศึกษาประโยชน์และกระบวนการสร์างฝายชะลอน้ าแต์ละแบบ
1.3.3 ศึกษาวัสดุที่ใช์ในการท าฝายชะลอน้ า
1.3.4 จัดท าตัวอย์างฝายชะลอน้ าที่สามารถใช์งานได์จริงในการทดลอง