Page 252 - การสำรวจภาพถ่าย Photogrammetry
P. 252
222
ตารางที่ 7-2 คาความถูกตองเชิงตําแหนงทางดิ่ง ของวัตถุบนแผนที่เทียบกับตําแหนงบนภาคพื้นดิน ณ จุดเดนชัดที่ชวงเสน
ชั้นความสูงตาง ๆ (ดัดแปลงจาก สภาวิศกร, 2558)
ชวงเสนชั้น ความสูง (เมตร)
คาคลาดเคลื่อนกําลังสองนอยที่สุด (Root Mean Square Error: RMSE) ไมเกิน (เมตร)
จุดบนแผนที่ภูมิประเทศ จุดความสูง หรือ จุดบนแบบจําลองภูมิประเทศ
ชั้นหนึ่ง ชั้นสอง ชั้นสาม ชั้นหนึ่ง ชั้นสอง ชั้นสาม
ตารางที่ 7-3 คามาตรฐานความถูกตองทางราบสําหรับขอมูลแผนที่เชิงเลข (ดัดแปลงจาก สภาวิศกร, 2558)
ชั้นความถูกตองทางราบ (Horizontal Accuracy Class)
ความถูกตองสัมบูรณ (Absolute Accuracy)
RMSExและ RMSEy RMSEr (เซนติเมตร) ความถูกตองทางราบที่ ระดับ
(เซนติเมตร)
ความเชื่อมั่น 95% (เซนติเมตร)
222
0.10 0.03 0.20 0.07 0.25 0.08 0.50 0.17 1.00 0.33 2.00 0.67 4.00 1.33 5.00 1.67
10.00 3.33
0.07 0.10 0.13 0.20 0.17 0.25 0.33 0.50 0.66 1.00 1.33 2.00 2.67 4.00 3.33 5.00 6.67 10.00
0.02 0.03 0.05
0.03 0.07 0.10
0.04 0.08 0.12
0.08 0.16 0.25 0.17 0.33 0.50 0.33 0.67 1.00 0.67 1.33 2.00 0.83 1.67 2.50 1.67 3.33 5.00
7.3.2 มาตรฐานความถูกตองของแผนที่เชิงเลข (Digital Map Accuracy Standard)
การกําหนดมาตรฐานความถูกตองของแผนที่เชิงเลข ใชเกณฑมาตรฐานของ ASPRS ป ค.ศ. 2014 โดยคาความ ถูกตองเชิงตําแหนงทางราบและทางดิ่ง กําหนดโดยใชคา RMSE บนพื้นดิน เชนเดียวกับมาตรฐานเดิม (ASPRS ป ค.ศ. 1990) แตมิไดขึ้นอยูกับมาตราสวนและชวงชั้นความสูงของแผนที่ ขอมูลแผนที่ดิจิตัลประกอบดวยขอมูลทางราบและทางดิ่ง ซึ่งมี วิธีการเรียกชื่อหรือบอกความถูกตองเชิงตําแหนง ดังนี้
1) วิธีการเรียกชื่อหรือบอกความถูกตองของขอมูลทางราบ กําหนดใหเรียกชื่อโดยใชคา “ชั้นความถูกตองทางราบ (Horizontal Accuracy Class)” มีหนวยเปนเซนติเมตร คาชั้นความถูกตองทางราบมีความเกี่ยวของกับคา RMSE กลาวคือ คา RMSE ในทิศทางแกน X (RMSEx) และคา RMSE ในทิศทางแกน Y (RMSEy) จะตองมีคา ไมเกินคาชั้นความถูกตองทางราบ คาชั้นความถูกตองทางราบสามารถใชคํานวณหาคา RMSE ในทิศทางรวม (RMSEr) และคาความถูกตองทางราบที่ความเชื่อมั่น 95% โดยการคูณดวย 1.414 และ 2.448 ตามลําดับ ดัง แสดงในตารางที่ 7-3 และพรอมกับตัวอยางชั้นความถูกตองทางราบแสดงในตารางที่ 7-4
X เซนติเมตร
X 1.414 * X 2.448 * X
การสำาํา รวจด้้วยภาพถ่่าย (Photogrammetry)