Page 4 - องค์ความรู้สู่การบริหารจัดการเมืองยั่งย
P. 4
1
1. หลักการและเหตุผล
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม มีการด าเนินงานภายใต้แผนงานบูรณาการ วิจัยและนวัตกรรม
ซึ่งผลส าเร็จที่ได้จากการด าเนินงานวิจัยนั้นจ าเป็นต้องมีการเผยแพร่องค์ความรู้และนวัตกรรมเพื่อนน าไปใช้สนับสนุน
การด าเนินงานของกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม ตามแผนกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม ระยะ 20 ปี พ.ศ. 2561 –
2580 ประเด็นส าคัญที่ 1 การส่งเสริมการผลิตและการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ประเด็นส าคัญที่ 2 การจัดการขยะ
ที่ต้นทางโดยประชาชน ประเด็นส าคัญที่ 3 การส่งเสริมเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน ประเด็นส าคัญที่ 4 การเสริมสร้างความ
เข้มแข็งเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ประเด็นส าคัญที่ 5 การบริหารจัดการองค์กร โดยการสร้างความรู้
ความเข้าให้เจ้าหน้าที่ในการน าผลงานวิจัยสามารถน าไปใช้ประโยชน์ในการด าเนินงานส่งเสริมให้ความรู้ ความเข้าใจกับ
ประชาชน หน่วยงานในระดับท้องถิ่น ระดับภูมิภาคและระดับประเทศ ในการด าเนินงานตามประเด็นยุทธศาสตร์ให้
บรรลุผลส าเร็จได้ โดยได้ก าหนดประเด็นการจัดการความรู้ เรื่อง ส่งเสริมการพัฒนาเมืองที่มีการเติบโตบนวิถีชีวิตที่เป็น
มิตรกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นยุทธศาสตร์การท างานขององค์กร โดยการบูรณาการองค์ความรู้จากทุกส านัก/ศูนย์/กอง ดังนี้
องค์ความรู้ด้านวิจัย พัฒนา เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการจัดการสิ่งแวดล้อม ด้านส่งเสริมการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน
ที่ต้นทางด้วยความร่วมมือของประชาชน ด้านส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการผลิตการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ด้านเสริมพลังความร่วมมือและเสริมสร้างศักยภาพในการรุกรับปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ส่งเสริม
การเพิ่มพื้นที่สีเขียวในเมืองและชุมชนโดยการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน ด้านพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพบุคลากร
ด้านสิ่งแวดล้อม งานเครือข่ายด้านสิ่งแวดล้อม ด้านการสื่อสารสาธารณะเพื่อสร้างจิตส านึกสิ่งแวดล้อม และ
งานสารสนเทศด้านสิ่งแวดล้อม ในการขับเคลื่อนงานดังกล่าว ให้สู่ความส าเร็จตามเป้าหมายที่ได้ก าหนดไว้
เพื่อให้การด าเนินการส่งเสริมพัฒนาเมืองให้มีการเติบโตบนวิถีชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ประสบผลส าเร็จและสามารถขยายผลไปยังพื้นที่อื่นๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น จึงด าเนินการรวบรวมบทเรียน
องค์ความรู้ด้านการส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่เป็นผลมาจากการด าเนินกิจกรรม/โครงการต่างๆ ของกรมส่งเสริม
คุณภาพสิ่งแวดล้อมในการน าไปประยุกต์ใช้ในการบูรณาการองค์ความรู้สู่การจัดการเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืนต่อไป
1.1 ความส าคัญของการพัฒนาเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน
ประเทศไทยได้มีการก าหนดนโยบายการพัฒนาประเทศที่มีเนื้อหาสอดรับกับเป้าหมายการพัฒนา
ที่ยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ (Sustainable Development Goals: SDGs) ซึ่งเป็นเป้าหมายในการพัฒนาในช่วง
15 ปี (พ.ศ. 2558 – 2573) จ านวน 17 เป้าหมาย
ปี พ.ศ. ๒๕๖๐ ประเทศไทยได้ก าหนด “ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี” (พ.ศ. 2561 – 2580) ในยุทธศาสตร์
ด้านที่ 5 “การสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม” ได้ก าหนดแนวทางการพัฒนาประเทศไว้ดังนี้
1) จัดระบบอนุรักษ์ ฟื้นฟูและป้องกันการท าลาย ทรัพยากรธรรมชาติ
2) วางระบบบริหารจัดการน้ าให้มีประสิทธิภาพทั้ง 25 ลุ่มน้ า เน้นการปรับระบบการบริหารจัดการ
อุทกภัยอย่างบูรณาการ
3) การพัฒนาและใช้พลังงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมในทุกภาคเศรษฐกิจ
4) การพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศและเมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
5) การร่วมลดปัญหาโลกร้อนและปรับตัวให้พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
6) การใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์และนโยบายการคลังเพื่อสิ่งแวดล้อม