Page 91 - องค์ความรู้สู่การบริหารจัดการเมืองยั่งย
P. 91

88






              2.3 การน าไปทดสอบการปลูกพืชกินผล
                     คุณลักษณะการเจริญของต้นเมล่อนเมื่อลงปลูกลงกระถาง ดังรูปที่ 7 ต้นเมล่อนอายุ 2 สัปดาห์ จะท าการเลื้อย
              และหลักจากนั้นอีก 2-4 อาทิตย์จะทยอยผสมเกสรให้เมล่อนติดผล หลังจากท าการปลูกเป็นเวลา 3 เดือนครึ่ง พบว่าต้น

              เมล่อนจ านวน 54 ต้น มีการติดโรคทั้งเชื้อรา และไวรัส ดังรูปที่ 8 ซึ่งส าหรับต้นที่ติดเชื้อไวรัสท าให้เกิดโรคใบเหี่ยว จะท า
              การถอนทิ้ง ส่วนต้นที่ติดเชื้อราท าให้เป็นโรคราน้ าค้าง จะใช้เชื้อไตรโคเดอร์มาทารอบรอยแผล และได้ใช้สารคอปเปอร์
              ซัลเฟต ที่ระดับความเข้มข้น 2,000 มก./ล. สเปรย์ไปทั่วล าต้น 2 ครั้ง เพื่อชะลอการเกิดโรค หลังจากนั้น ได้ท าการวัด

              น้ าหนักก่อนการเก็บเกี่ยวผลเมล่อนที่เหลือทั้งหมดจ านวน 35 ผล จากแถวของต้นที่เลี้ยงด้วยน้ าประปา จ านวน 17 ผล
              และแถวของต้นเมล่อนที่เลี้ยงด้วยน้ าที่ผ่านการบ าบัด จ านวน 18 ผล พบว่าน้ าหนักเฉลี่ยของผลเมล่อนที่เลี้ยงด้วย
              น้ าประปา และน้ าที่ผ่านการบ าบัด มีค่าเท่ากับ 2.4 ± 0.5 กก. และ 1.9 ± 0.3 กก. ตามล าดับ และเมื่อท าการทดสอบ
              ทางสถิติด้วย T-test  พบว่า ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95




















































                                         รูปที่ 7 ลักษณะการเจริญของต้นเมล่อน และการติดผล
   86   87   88   89   90   91   92   93