Page 30 - feminist theory
P. 30
หนังทั้งสามเรื่องมีความแตกต่างกันหลายอย่างทั้งในเชิง
บริบททางสังคมและยุคสมัย the handmaiden ที่เล่าถึงวัฒ
ธรรมญี่ปุ่นในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 ที่ชายครองความเป็น
ใหญ่อย่างแท้จริง การที่ผู้หญิงลุกขึ้นมาต่อต้านเป็นเรื่องที่ยากใน
30
สังคมสมัยนั้น แต่ในทางกลับกันหนัง the handmaiden กลับ
ทำ ให้มันเป็นเรื่องง่ายดายเหลือเกิน วัฒธรรมญี่ปุ่นก็ไม่ต่างจาก
ไทยในสมัยก่อนมากนักที่ผู้หญิงต้องอยู่บ้านทำ ตามคำ สั่งสามีหรือ
หัวหน้าครอบครัว ถ้าไม่เชื่อฟังก็ถือว่ามีความผิดร้ายแรง อีกทั้ง
ยังมีการสร้างวรรณกรรมภาพวาดที่ดูแปลก ผมคิดว่ามันก็คือ
หนังสือโป้ในสมัยนั้นนั่นแหละ แต่มันดูพิสดารกว่าคือมันมีความ
เหนือจริงอยู่มากเช่นปลาหมึกที่ใช้หนวดเกาะอยู่บนร่างผู้หญิง
การวาดองคชาดที่ใหญ่โต หรือภาพข่มขืนแบบพิสดารและโคตร
แฟนตาซี ทั้งหมดเป็นตัวแทนสะท้อนภาพของยุคสมัยได้ดีกับคำ ว่า
ชายเป็นใหญ่
20th century woman เป็นการเล่าถึงแม่เลี้ยงเดี่ยวในอเมกา
ช่วงปลายยุค 70’s ผมคิดว่าก็ไม่ได้เฟมินิสต์จ้าอะไรขนาดนั้น หนัง
แค่เล่าชีวิตแม่ลูกคู่หนึ่ง แต่ให้ความสำ คัญกับผู้หญิงอยู่พอสมควร
เหมือนคำ นิยามว่าเป็นผู้หญิงต้องสตรอง ที่สะท้อนให้เห็นยุคสมัยที่
เปลี่ยนแปลงทำ ให้คนเปลี่ยนไปได้อย่างดี อย่างเช่นตัวหญิงทั้งสาม
คนที่เข้มแข็งมาก โดโรทรี่เป็นได้พ่อและแม่ในเวลาเดียวกันทำ หน้าที่
ต่างๆที่ผู้ชายทำ ได้ จูลีย์เป็นโค้ชชีวิตที่ดีให้เจมี่และแอ๊บบี้สามารถ
รับมือกับอดีตที่เลวร้ายได้และกลับมาเข็มแข็ง เป็นตัวอย่างที่ดี
สำ หรับผู้หญิงในยุดนั้นที่ไม่ได้งอมืองอเท้าให้ผู้ชายมาช่วยและเรื่อง
สุดท้าย
kannapak