Page 138 - เอกสารประกอบการสอนพื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
P. 138

137


                                           วิชา พื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

                                                     รหัสวิชา 2204–2006                         หน่วยที่ 4
                                   ชื่อหน่วย การเขียนโปรแกรมโครงสร้างแบบมีทางเลือกและแบบท าซ้ า


                         สาระส าคัญ



                              การเขียนโปรแกรม (Programming) การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์มักจะต้องมีการสั่งให้
                       โปรแกรมเลือกท าอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือให้โปรแกรมท าการวนซ้ า ซึ่งลักษณะการเลือกท านั้นเป็น
                       ลักษณะของโครงสร้างโปรแกรมแบบมีทางเลือก จะต้องน าค าสั่งการเลือกท ามาใช้ ในการเขียน

                       โปรแกรมภาษาซีก็มีค าสั่งส าหรับโครงสร้างแบบมีทางเลือกหลายค าสั่ง คือ ค าสั่ง if จะต้องมีการ
                       ตรวจสอบเงื่อนไขก่อนว่าจะท าสิ่งใดต่อไป ถ้าหากมีการเลือกท าหลายทางก็สามารถน าค าสั่ง if มา
                       ซ้อนกันได้ หรือเลือกใช้ค าสั่ง Switch…Case ก็ได้ ส่วนลักษณะของโครงสร้างแบบท าซ้ าจะมีอยู่ 3
                       แบบ คือ ค าสั่ง for ใช้ท าซ้ าเมื่อรู้จ านวนรอบที่แน่นอน  ค าสั่ง while ใช้ท าซ้ าโดยมีการตรวจสอบ

                       เงื่อนไขก่อนท าซ้ า  และค าสั่ง do…while จะต้องมีการท างานโปรแกรมก่อน 1 ครั้งเสมอแล้วจึง
                       ตรวจสอบเงื่อนไขเพื่อท าซ้ า  จะเห็นได้ว่าไม่ว่าจะเป็นโครงสร้างแบบมีทางเลือกหรือแบบท าซ้ าจะต้อง
                       มีการตรวจสอบเงื่อนไขเข้ามาร่วมด้วยเสมอ ดังนั้นผู้เขียนโปรแกรมจะต้องศึกษาให้เข้าใจการใช้ค าสั่ง
                       แบบมีทางเลือกและแบบท าซ้ าก่อน จึงท าให้โปรแกรมสามารถท าตามเงื่อนไขได้ถูกต้องและมี

                       ประสิทธิภาพ

                       1.  การเขียนโปรแกรมโครงสร้างแบบมีทางเลือก (Selection Structure)

                              การเขียนโปรแกรมโครงสร้างแบบมีทางเลือก เป็นโปรแกรมที่มีความซับซ้อนมากขึ้น อาจมี
                       การเปลี่ยนทิศทางการท างานของโปรแกรมบ้าง เพื่อจุดประสงค์บางอย่างโดยใช้การตรวจสอบเงื่อนไข
                       จากการเปรียบเทียบทางคณิตศาสตร์หรือทางตรรกศาสตร์เป็นตัวก าหนดเพื่อให้โปรแกรมท างานอย่าง

                       ใดอย่างหนึ่งตามที่ต้องการ ซึ่งค าสั่งที่ใช้ในการตรวจสอบเงื่อนไขมีอยู่ 3 ลักษณะ ดังนี้
                              1.1  เงื่อนไขจริงหรือเท็จจึงกระท าอย่างใดอย่างหนึ่ง
                              1.2  เงื่อนไขจริงหรือเท็จต่างก็ต้องกระท า
                              1.3  เงื่อนไขที่มีให้เลือกมากกว่า 2 ทาง
   133   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143