Page 27 - การวางแผนงานวิจัย โครงร่างงานวิจัย
P. 27
สาเหตุของปัญหา
a. ขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องของการวิจัย
b. ขาดประสบการณ์ในการเขียนโดยเฉพาะอย่างยิ่งการเขียนงานวิจัย ซึ่งมี
ลักษณะแตกต่างไปจากการเขียนบทความหรือเขียนต าราโดยทั่วไป
ไม่ได้ศึกษารูปแบบวิธีการเขียนงานวิจัยอย่างกว้างขวางเพียงพอ
c. ขาดการฝึกฝนและการพัฒนาทักษะการเขียนด้วยตนเอง ซึ่งเป็นสิ่งที่ส าคัญมาก
เพราะการเขียนนั้นผู้เขียนจะต้องท าด้วยตนเองไม่สามารถให้ผู้อื่นกระท าแทนได้
กิจกรรมหลักที่ส าคัญอยู่ 5 อย่างในการท างานวิจัย คือ (1) การอ่าน อ่าน อ่าน อ่าน
และอ่าน (2) การคิด คิด คิด คิด และคิด (3) การเขียน เขียน เขียน เขียน และเขียน (4) การ
น าเสนอ น าเสนอ น าเสนอ น าเสนอ และน าเสนอ (5) การวิพากษ์วิจารณ์ วิพากษ์วิจารณ์
วิพากษ์วิจารณ์ วิพากษ์วิจารณ์ และ วิพากษ์วิจารณ์ และในบรรดากิจกรรมทั้งห้าประการนี้
ั
การเขียนนั้นเป็นปญหาใหญ่ ที่ต้องเริ่มต้นจากการอ่านก่อน เมื่ออ่านมากๆแล้วก็จะเกิด
กระบวนการน าพาไปสู่การเขียนที่ดีได้
เอกสารอ้างอิง
1. Cuca JM, McLouglin WJ. Why clinical research grant applications fare poorly in
review and how to recover. Cancer Investigation. 5:55-58, 1987.
2. Gitlin LN, Lyons KJ. Successful grant writing. Strategies for health and human
service professionals. New York: Springer Publishing Co., 1996.
3. Lock LF, Spirduso WW, Silverman SJ. Proposals that work. Newbury Park, CA:
Sage Publications, 1993.
4. Ries JB & Leukefeld CG. Applying for research funding. Getting started and
getting funded. Thousand Oaks, CA: Sage Publications, 1995.
5. Streiner DL. “While you’re up, get me a grant”: A guide to grant writing. Can J
Psychiatry. 41:137-143, 1996.
6. University of Calgary. Research Policy: Ethics of Human Studies. University of
Calgary, 1994 (http://www.ucalgary.ca/~rs/pethics.htm)
7. Woodward DK, Clifton GC. Development of a successful research grant
application. Am J Hosp Pharm. 51:813-822, 1994.
27