Page 7 - ชุดการสอนเฟยยยยยยยยยย
P. 7
การด าเนินงาน
1.สมัชชา คือ ที่ประชุมใหญ่ขององค์การ ประกอบด้วยผู้แทนของประเทศสมาชิกทั้งหมด ประเทศ
สมาชิกจะส่งผู้แทนไปประจ าได้ประเทศละ 3 คน แต่การออกเสียงลงคะแนนได้เพียง 1 เสียง มีวาระการ
ป ร ะ ชุ ม ปี ล ะ ค รั้ ง เ พื่ อ พิ จ า ร ณ า ปั ญ ห า ต่ า ง ๆ ที่ อ า จ ส่ ง ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ สั น ติ ภ า พ โ ล ก
2. คณะรัฐมนตรี ท าหน้าที่เป็นผู้บริหารองค์การ เมื่อตั้งครั้งแรกประกอบด้วยสมาชิกถาวร 4 ประเทศ
คือ ฝรั่งเศส อังกฤษ อิตาลี และญี่ปุ่น และสมาชิกที่มาจากการเลือกตั้งอีก 4 ประเทศ มีการประชุมกันปีละครั้ง
เพื่อพิจารณาเรื่องต่างๆ ที่เป็นภัยคุกคามต่อสันติภาพของโลกและปฏิบัติตามข้อเสนอแนะของสมัชชา
3. ส านักงานเลขาธิการ มีเลขาธิการซึ่งได้รับเลือกจากคณะรัฐมนตรี มีหน้าที่เป็นส านักงานจัดท า
รายงาน รักษาเอกสารหลักฐาน อ านวยการวิจัยและประสานงานกับฝ่ายต่างๆ
4. คณะกรรมาธิการ มีคณะกรรมาธิการฝ่ายต่างๆ ซึ่งท าหน้าที่เกี่ยวกับกิจการด้านเศรษฐกิจและสังคม
ได้แก่ องค์การอนามัยระหว่างประเทศ ส านักแรงงานสากล คณะกรรมาธิการฝ่ายดินแดนในอาณัติ
5. ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ท าหน้าที่เกี่ยวกับกฎหมายระหว่างประเทในการพิจารณาคดีและ
กรณีพิพาทเกี่ยวกับพรมแดน ประกอบด้วยผู้พิพากษา 15 คน
จุดอ่อนขององค์การสันนิบาตชาติ
1. ประเทศมหาอ านาจไม่ได้เป็นสมาชิก กฎข้อบังคับขององค์การสันนิบาตชาติจะบังคับใช้ได้ผลเฉพาะ
ประเทศที่ไม่ค่อยมีอ านาจและบทบาทมากนัก แต่ไม่มีผลบังคับประเทศมหาอ านาจ เนื่องจากไม่ได้เข้าเป็น
สมาชิกหรือลาออกไปแล้ว
สหรัฐอเมริกา : สภาคองเกรสไม่ยอมให้สัตยาบันที่ให้สหรัฐอเมริกาเป็นสมาชิกขององค์การ
สันนิบาตชาติ โดยอ้างว่าต้องปฏิบัติตามวทะมอนโร ซึ่งมีนโยบายไม่ยุ่งเกี่ยวและแทรกแซงการเมืองของ
ประเทศในยุโรป
สหภาพโซเวียต : หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 สหภาพโซเวียตเกิดความวุ่นวายภายในประเทศ
เพิ่งเข้าเป็นสมาชิกเมื่อ ค.ศ. 1934
เยอรมนี : เข้าเป็นสมาชิกใน ค.ศ. 1926 และถอนตัวออกไปใน ค.ศ. 1933
ญี่ปุ่น : ถอนตัวออกไปใน ค.ศ. 1933
อิตาลี : ถอนตัวออกไปใน ค.ศ. 1937
2. ประเทศมหาอ านาจโจมตีประเทศอื่น
มหาอ านาจหลายประเทศก่อความก้าวร้าวและรุกรานประเทศอื่น ถึงแม้ว่าจะมีองค์การสันนิบาตชาติ
แต่เมื่อประเทศมหาอ านาจต้องการผลประโยชน์หรือเสียผลประโยชน์ด้วยประการใดก็ตาม มหาอ านาจจะ